TFRS Group Financial Instruments มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

TFRS Group Financial Instruments มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ปัจจุบันคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี  อยู่ระหว่างการจัดทำร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุ่มเครื่องมือทางการเงิน (Financial instrument) ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นโดยมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฉบับปรับปรุงปี 2558 (IFRS Bound Volume 2015) โดยคาดว่าจะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2562

TAS   หมายถึง มาตรฐานการบัญชี TFRS   หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
TSIC  หมายถึง การตีความมาตรฐานการบัญชี  TFRIC  หมายถึง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ผ่านการพิจารณาหลักการโดยคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี
ท่านสามารถดาวน์โหลดเพื่อใช้ในการศึกษาและเตรียมความพร้อมในการถือปฏิบัติได้

ความคืบหน้า

1    หมายถึง  ผ่านความเห็นชอบในคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี
2    หมายถึง  ผ่านความเห็นชอบในคณะกรรมอนุกรรมการกลั่นกรองมาตรฐานการบัญชี
3    หมายถึง  ผ่านความเห็นชอบในคณะกรรมกรรมการสภาวิชาชีพบัญชี
4    หมายถึง  ผ่านความเห็นชอบในคณะกรรมกรรมการกำกับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชี (กกบ.)
5    หมายถึง  อยู่ระหว่างรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา
6    หมายถึง  ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

ชื่อย่อ ชื่อมาตรฐาน/การตีความ วันที่เผยแพร่ ความคืบหน้า มีผลบังคับใช้ ประกาศราชกิจจานุเบกษา
ร่าง
TFRS 9
เครื่องมือทางการเงิน 19 ธ.ค. 2559 5 1 ม.ค. 2563
ร่าง
TFRS 7 
การเปิดเผยข้อมูลเครื่องมือทางการเงิน 20 ธ.ค. 2559 5 1 ม.ค. 2563
ร่าง
TAS 32
การแสดงรายการเครื่องมือทางการเงิน 9 ธ.ค. 2559 5 1 ม.ค. 2563
ร่าง
TFRIC 16
การป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ 26 ม.ค. 2560 5 1 ม.ค. 2563
ร่าง
TFRIC 19
การชำระหนี้สินทางการเงินด้วยตราสารทุน  26 ม.ค. 2560 5 1 ม.ค. 2563

แนวปฏิบัติทางการบัญชี

ชื่อย่อ ชื่อมาตรฐาน/การตีความ มีผลบังคับใช้ ประกาศราชกิจจานุเบกษา

Insurance .FVTPL

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับธุรกิจประกันภัยในการกำหนดให้เครื่องมือทางการเงินเป็นเครื่องมือทางการเงินที่แสดงมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำไรหรือขาดทุน 1 ม.ค. 2560 28 พ.ย. 2559

Derecognition

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการตัดรายการสินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน 1 ม.ค. 2560 10 พ.ค. 2559

มาตรฐานการบัญชีไทย (กลุ่มเครื่องมือทางการเงิน)

            คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชีได้จัดทำและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีของไทย ซึ่งไม่ได้แปลและเรียบเรียงขึ้นจาก IFRS ในปี 2559 ได้ปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีไทยจำนวน 3 ฉบับ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง โดยจะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560

ชื่อย่อ ชื่อมาตรฐาน/การตีความ มีผลบังคับใช้ ประกาศราชกิจจานุเบกษา

TAS 101

หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 1 ม.ค. 2532 30 ต.ค. 2549

TAS 103

การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคารและสถายันการเงินที่คล้ายคลึงกัน 1 ม.ค. 2550 30 ต.ค. 2549

TAS 104 
(ปรับปรุง 2559)

การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา 1 ม.ค. 2560 28 พ.ย. 2559

TAS 105
(ปรับปรุง 2559)

การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน 1 ม.ค. 2560 28 พ.ย. 2559

TAS 106

การบัญชีสำหรับกิจการที่ดำเนินธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุน 1 ม.ค. 2543 28 พ.ย. 2543

TAS 107 
(ปรับปรุง 2559)

การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน 1 ม.ค. 2560 28 พ.ย. 2559

ตีความ-9

การตีความมาตรฐานการบัญชี เรื่องที่ 9 สินทรัพย์ที่ลูกหนี้โอนให้เพื่อชำระหนี้ 31 ธ.ค. 2546 5 พ.ย. 2546

บทความ/ข่าวสารเกี่ยวกับ TFRS กลุ่มเครื่องมือทางการเงิน

วัน/เดือน/ปี เรื่อง
01/05/2561
การเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน..หน้าตา..เป็นอย่างไร? ดูเพิ่มเติม
22/09/2560 บทความ “ทิศทางมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย สู่มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ” ดูเพิ่มเติม
22/09/2560 บทความ “มาทำความรู้จักกับนักคณิตศาสตร์ประกันภัยกันเถอะ” ดูเพิ่มเติม
01/06/2560 บทความ “พลิกโฉม...การบัญชีสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” (ทั้งหมด 4 ตอน) ดูเพิ่มเติม
29/05/2560 สรุปการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างมาตรฐานการรายงานงานทางการเงินกลุ่มเครื่องมือทางการเงิน  (TFRS 9,TFRS 7 และ TAS 32) ดูเพิ่มเติม
14/03/2560 การสัมมนาพิจารณ์ Focus group เพื่อรับฟังและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหา ผลกระทบ และการปฏิบัติในช่วงการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instrument) สำหรับธุรกิจการเงิน ดูเพิ่มเติม
28/03/2560 การสัมมนาพิจารณ์ Focus group เพื่อรับฟังและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหา ผลกระทบ และการปฏิบัติในช่วงการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instrument) สำหรับธุรกิจประกันภัยและธุรกิจที่ไม่ใช่ธุรกิจการเงิน ดูเพิ่มเติม
06/03/2560 บทความ “Preparation of Financial Instruments” สัมมนาพิจารณ์ (Focus Group) เพื่อรับฟังความคิดเห็นร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 กลุ่มเครื่องมือทางการเงิน ขั้นตอนสำคัญ (Due Process) ที่คุณไม่ควรมองข้าม! ดูเพิ่มเติม
16/06/2559 บทความ Forward Contract กับการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ดูเพิ่มเติม
08/03/2559 รายการสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า...มีที่มีทางเสียที ดูเพิ่มเติม
30/10/2558 มาตรฐานการรายงานทางการเงินว่าด้วยเครื่องมอป้องกันความเสี่ยง ดูเพิ่มเติม

ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ

EIR อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
คำชี้แจง ตัวอย่างเพื่อประกอบความเข้าใจเกี่ยวกับการคำนวณดอกเบี้ยตามเกณฑ์อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง ดาวน์โหลด
ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกรณีอัตราดอกเบี้ยไม่เท่ากันในแต่ละปี ดาวน์โหลด
ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกรณีอัตราดอกเบี้ยไม่เท่ากันในแต่ละปีและมีค่าธรรมเนียมธนาคาร ดาวน์โหลด
ตัวอย่างที่ 3 การคำนวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกรณีอัตราดอกเบี้ยไม่เท่ากันในแต่ละปีและมีการทยอยจ่ายคืนเงินต้น ดาวน์โหลด
ตัวอย่างที่ 4 การคำนวณอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงกรณีอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัวและไม่เท่ากันในแต่ละปี ดาวน์โหลด
บทความโดย : http://www.fap.or.th

 6225
ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์