หลักการควบคุมภายในระบบเงินเดือนและค่าแรง

หลักการควบคุมภายในระบบเงินเดือนและค่าแรง

การควบคุมภายในที่ดีจะช่วยป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และทำให้เกิดความมั่นใจได้ว่าการคำนวณเงินเดือนค่าแรงพนักงานแต่ละคนถูกต้อง จ่ายให้กับพนักงานที่เป็นบุคคลที่ถูกต้องหรือมีตัตนอยู่จรงเท่านั้น หลักสำคัญของการควบคุมภายในมีดังนี้
1. การแบ่งแยกหน้าที่ออกจากัน กล่าวคือหน้าที่จดเวลาหรืรวบรวมเวลาทำงานและหน้าที่คำนวณค่าแรงของคนงานควรจะแยกออกจากหน้าที่จ่ายเงินค่าแรง ทั้งนี้เพราะหากให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งทำหน้าที่ตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดทำให้เกิดการทุจรตได้ง่าย
2. ควรใช้นาฬิกาบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแต่ละคนในบัตรลงเวลาการทำงานควบคู่กับการบันทึกเวลาการทำงานในสมุบันทึกการทำงานแต่ละวัน โดยผู้มีหน้าที่บผิดชอบเซ็นชื่อกำกัเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการรูดบัตรแทนกัน หรือรูดบัตรไม่ได้ทำงานจรง ในกรณีของกิจการขนาดเล็กอาจไม่จำเป็นต้องใช้นาฬิกาในการจดเวลา แต่ ใช้ระบบการเซ็นต์ชื่อกำกับในบัตรลงเวลาแทนเนื่องจากการควบคุมได้ทั่่วถึ
3. จัดให้มีการสอบทานซึ่งกันและกัน เช่น แผนกบัญชีเงินเดือน ค่าแรงเป็นผู้จัดทำใบสำคัญสั่งจ่ายแผนกการเงินเป็นผู้ตรวจสอบก่อนที่จะเสนอใบสำาคัญสั่งจ่ายอนุมัติถ้าเป็นกิจการขนาดเล็กอาจจะให้พนักงานคนหนึ่งทำและอีกคนหนึ่งเป็นผู้ตรวจ 
4. จัดทำทะเบียนรายชื่อพนักงานและอัตราค่าจ้าง โดยมีหัวหน้ฝ่ายบุคลากรเซ็นต์อนุมัติและในกรณีที่โยกย้ายพนักงาน พนักงาเข้าใหม่พนักงานลาออก ต้องได้บการอนุมัติ เช่น กันทั้งนี้เพื่ป้องกันไม่ให้เกิดการจ่ายเงินเดือนค่าแรงให้กับพนักงานที่ไม่มีตัตน และแจ้งให้ฝ่ายบัญชีทราบเพื่อยกเลิกการคำนวณค่าแรงและตัดออกจากรายการทะเบียนพนักงาน
5. หัวหน้าแผนกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องอนุมัติอัตราค่าแรงก่อนทุกครั้ง หากมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อขึ้นหรือลดลง หรืออาจกำหนด ให้ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับอัตราค่าแรงเซ็นต์อนุมัติอีกครั้งก่อนจัดทำ ใบสำคัญจ่ายเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการจ่ายเงินเกินจริ
6. กรณีจ่ายเงินเดือนค่าแรงเป็นเงินสดควรจะมีการวางระเบียบให้พนักงานที่รับเงินเดือนต้องมีบัตรประจำตัวมาแสดงและตรวจสอบก่อนจ่ายเงิน แต่หากผู้จ่ายเงินมีความคุ้นเคยและรู้จักพนักงานดีอยู่แล้ววิธีการนี้ ก็อาจไม่จำเป็น ทั้งนี้ การวางระบบดังกล่าวเพื่ป้องกันการจ่ายเงินเดือนค่าแรงผิดตั
7. กำหนดระเบียบการลงเวลาการปฏิบัติงานที่ชัดเจน พร้อมบทกำหนดโทษ เพื่อป้องกันการตอกบัตรแทนกันและไม่มาปฏิบัติงานและจัดให้เครื่องตอกบัตรลงเวลาวางในพื้นที่ที่ดูแลได้อย่างทั่วถึมองเห็นได้ง่ายและอยู่ ใกล้หน่วยงานที่ รับผิดชอบ
8. เงินเดือนค่าแรงที่ยังไม่มีพนักงานผู้ใดมารับ ควรมอบให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้ดูแลโดยเฉพาะและเก็บเงินไว้ ในที่ที่ปลอดภั
และเมื่อพนักงานมาขอเบิกต้องตรวจสอบให้แน่ ใจว่าจ่ายเงินให้กัพนักงานผู้ั้นจริง และหากพนักงานยงไม่มารับเงินภายในระยะเวลาที่กำาหนดจะต้องส่งเงินคือหัวหน้าพนักงานรักษาเงินและมีการบันทึกบัญชี ให้ถูกต้อง
9. ตรวจสอบเงินเดือนค่าแรงอย่างสม่ำเสมอ โดยอาจใช้การตรวจสอบแต่ละจุดที่สำคัญ (Spot Audit) เช่น ตรวจสอบอัตราค่าจ้างที่นำมาใช้ ในการคำนวณค่าแรง ตรวจสอบภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเป็นต้
บทความโดย : www.scribd.com
 7919
ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์