วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเงินเดือนและค่าแรง

วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเงินเดือนและค่าแรง

ก่อนที่จะกล่าวถึงวิธีการเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง จะต้องทราบก่อนว่ามีหน่วยงานใดบ้างที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางระบบบัญชี ได้อย่างถูกต้อง และต้องป้องกันการทุจรตที่อาจเกิดขึ้ ได้ ซึ่งแผนกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมีด้วยกันดังต่อไปนี 1. แผนกบุคลากร 2. แผนกผลิต 3. แผนกบัญชีเงินเดือนและค่าแรง 4. แผนกบัญชีต้นทุน 5. แผนกบัญชีเจ้าหนี้ 6. แผนกการเงิทั้งนี้ในแต่ละกิจการอาจจะมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าหรืน้อยกว่า  6 แผนก ที่กล่าวมาข้างต้นก็ ได้ ทั่งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะการประกอบธุรกิจ ขนาดขององค์กร เปนต้วิธีการปฏิบัติของแผนกบุคคลแผนกนี้มีหน้าที่งานที่เกี่ยวข้องกับระบบบัญชีเงินเดือนและค่าแรงดังนี้
- มีหน้าที่ในการรับสมัคร คัดเลือก บรรจุ และกำาหนดอัตราค่าจ้าง
- เก็บรวบรวมประวัติพนักงาน
- เก็บรวบรวมเวลาการทำงานของพนักงานแต่ละคนในวันหนึ่งๆซึ่งรวมทั้งเวลาทำงานตามปกติและการทำงานล่วงเวลา การมาปฏิบัติงานของพนักงาน ขาดงาน มาสาย เพื่อจัดเก็บเป็นประวัติของพนักงานแต่ละคน
- นำเวลาการทำงานของพนักงานแต่ละคนมาคำนวณเป็นค่าจ้างแรงงาน
- ควบคุมเวลาการทำงานให้เป็นไปตาม พรบ. แรงงานวัตถุประสงค์ของแผนกนี้เพื่อรวบรวมเวลาการทำงานของพนักงานควบคุมเวลาการทำงานเป็นไปตามข้อบังคับตาม พรบ. แรงงานซึ่งทำให้สามารถคำนวณค่าแรงเป็นไปอย่างถูกต้องตามเวลาที่ทำงานจริง และคำนวณค่าล่วงเวลาที่ต้องจ่ายสำหรับการทำงานเกินกว่าเวลาที่ทำปกติ ดังนั้น การสรุปเวลาการทำงานของพนักงานต้องแสดงรายละเอียดเวลาการทำงานปกติและการทำล่วงเวลาซึ่จะต้องจ่ายค่าแรงในอีกอัตราหนึ่ง ในกิจการที่มีการจ่ายค่าแรงตามจำนวนงานที่ทำได้หรือทำเสร็จ ใบบัตรลงเวลาจะแสดงรายละเอียดปริมาณงานที่ทำเสร็จไว้ด้วย เพื่อแผนกบัญชีเงินเดือนและค่าแรงจะได้ ใช้คำนวณเงินค่าแรงได้ถูกต้อง ในกรณีที่จ่ายค่าแรงเป็นเงินเดือนประจำ การจดเวลาการทำงานสามารถนำมาใช้เพื่อคำนวณค่าล่วงเวลา และหากกิจการใดมีนโยบายหักเงินเดือนหากพนักงานคนใดมาสายหรือขาดงาน ในกรณเหล่านี้การจดเวลาการทำงานจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญในการคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้า หรือเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณกำไรขาดทุนได้อย่างถูกต้องวิธีการปฏิบัติของแผนกผลิ
- รวบรวมเวลาทำางานของคนงานแต่ละคนที่อยู่ ในแผนกจากสมุจดบันทึกเวลาทำางาน
- จัดส่งเวลาการทำางานที่ รวบรวมไว้ ให้แผนกบุคลากร เพื่อเปรียบเทียบกับบัตรลงเวลาเข้า – ออก
- เมื่อแผนกบุคลากรเห็นว่าถูกต้องตรงกันและคืนกลับมาแล้ว จะส่งให้แผนกบัญชีต้นทุนเพื่อลงบัตรต้นทุนงานสั่งทำกรณีเป็นต้ทุนงานสั่งทำ หรือลงในต้นทุนการผลิตสำหรับระบบบัญชีต้นทุตนแผนกผลิตเมื่อรวบรวมสมุดจดเวลา ทำงานของพนักงานแต่ละคน ได้แล้วจะส่งให้แผนกบุคลากรเพื่อเปรียบเทียบกับบัตรลงเวลาไป – กลับ ของคนงานแต่ละคนในแต่ละวันเมื่อตรงกันแล้วจะนำข้อมูลจากบัตรลงเวลาไปลงในสมุดจดสรุปเวลาทำางาน ในสมดจดเวลานี้ควรจะแสดงเวลาการทำงานปกติและเวลาพิเศษออกจากกัน เพื่อสะดวกในการคำนวณค่าแรงหลังจากนั้นส่งสมุดจดเวลาให้แก่แผนกบัญชีเงินเดือนและค่าแรง และบัตรจดเวลาให้แผนกต้นทุน เพื่อแผนกต้นทุนจะได้คำนวณเงินเดือนและค่าแรงของงานต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง สำาหรับกิจการที่ ใช้ระบบต้นทุนตอนหัวหน้าแผนก หรอผู้ควบคุมงานจะรายงานการทำงานของพนักงานในแต่ละแผนกหรือแต่ละช่วงการผลิตเพื่อรวบรวมต้นทุค่าแรงที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงในการคำนวณต้นทุนผลิตต่อไป
บทความโดย : www.scribd.com
 971
Visitor
Get started for free today. Free Trial
Create a website for free Online Stores