ระบบบัญชีของกิจการที่ทำการผลิต

ระบบบัญชีของกิจการที่ทำการผลิต

ระบบบัญชีที่เกี่ยวข้องในกิจการที่ทำการผลิตแบ่งออกได้เปน 2 ส่วนคื
1. บัญชีการเงิน (Financial accounting) ซึ่งประกอบด้วยระบบบัญชีสำหรับการขาย การซื้อเงินสด และเงินเดือนค่าแรง
2. บัญชีต้นทุน (Cost accounting) คือ ระบบที่ใช้รวบรวมข้อมูเกี่ยวกับต้นทุนของสินค้าที่ทำการผลิต ได้แก่ วัตถุดิบ ค่าแรง ค่ใช้จ่ายการผลิต เมื่อพิจารณาตามลักษณะของการผลิตของธุรกิจแล้ว สามารถแบ่ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 
1. กิจการที่ทำการผลิตตามคำสั่งของลูกค้าหรือเฉพาะงานเท่านั้ระบบบัญชีที่ใช้เรยกว่าระบบต้นทุนงาน (Job Order System) การบันทึกต้นทุนจะบันทึกตามงาน หรอคำสั่งที่ให้ผลิตแต่ละครั้
2. กิจการที่ทำการผลิตต่อเนื่องกันไป ติดต่อกันหลายแผนกจึงจะผลิตเสร็จออกมาเป็นสินค้าสำาเร็จรูป ระบบบัญชีที่ใช้เรยกว่ระบบบัญชีต้นทุนตอน (Continuous Process System) การบันทึต้นทุนจะต้องบันทึกแต่ละแผนกตามวิธีการผลิระบบบัญชีที่กล่าวมาข้างต้นทำให้กิจการต้องมีการวางระบบบัญชีที่แตกต่างกันเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลต้นทุนที่เกิดขึ้น ดังรายละเอียดที่จะกล่าวต่อไปนี้ ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำการรวบรวมข้อมูลต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิตในลักษณะนี้ จะใช้แบบฟอร์มที่เรียกว่า งบต้นทุนงาน (Job order cost sheet) ซึ่งจัทำขึ้นสำหรับงานแตละงานและถือเป็นบัญชีย่อยของบัญชีงานระหว่างทำ 
สาระสำคัญที่จำเป็นในงบต้นทุนงาน
คือ ต้นทุนของวัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายการผลิต มีวิธีการปฏิบัติดังนี้ 1. เมื่อลูกค้าติดต่อขอซื้อสินค้า ฝ่ายขายหรือผู้บคำสั่งจากลูกค้ต้องให้ลูกค้าเซ็นชื่อในใบสั่งจ้างไว้เป็นหลักฐาน หรืออาจใช้ ใบสั่ซื้อที่เป็นแบบฟอร์มของลูกค้าเองเป็นหลักฐานการว่าจ้างให้ผลิสินค้าตามคำสั่งก็ได้ 2. หลังจากนั้นฝ่ายขายหรือผู้รับคำสั่งจากลูกค้าจัดทำใบสั่งผลิขึ่น 4 ฉบับให้ผู้จัดการโรงงานเซ็นอนุมัติ 
ฉบับที่ 1 ต้นฉบับส่งให้ผู้ควบคุมคนงาน
ฉบับที่ 2 สำเนาส่งให้คลังพัสดุ
ฉบับที่ 3 สำเนาส่งให้แผนกบัญชีต้นทุ
ฉบับที่ 4 สำเนาเก็บไว้เป็นหลักฐาน
บทความโดย : www.scribd.com
 1475
Visitor
Get started for free today. Free Trial
Create a website for free Online Stores