นักบัญชีคิดว่าการตัดค่าเสื่อมราคาเป็นการปันส่วนอย่างมีระบบ ไม่ใช่เพื่อการสะท้อนมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์
ความแตกต่างระหว่างค่าเสื่อมราคาทางบัญชีกับทางเศรษฐศาสตร์
Ex. โทรศัพท์ 1 เครื่อง มีอายุการใช้งาน 5 ปี พอถึงปีที่ 3 ในทางบัญชีจะยังมีมูลค่า แต่ในทางเศรษฐกิจอาจไม่มีมูลค่าแล้ว
วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา
คิดค่าเสื่อมเท่ากันทุกปี ทำให้ cash flow เท่ากันทุกปี แต่ rate of returnจะสูงขึ้น
นอกจากจากนี้ยังมองว่าควรคิดค่าเสื่อมปีแรกๆสูงกว่าปีหลังๆเพราะปีหลังๆจะมีค่าบำรุงรักษาเพิ่มมากกว่าปีแรกๆ อีกด้วย
Variable cost
การกำหนดให้สินทรัพย์มีอายุนานเกินไปจะทำให้ค่าเสื่อมราคาต่ำเกินไป ดังนั้นการเลือกอายุการใช้งานสั้นและค่าซากต่ำ เป็นการใช้นโยบายการบัญชีแบบ conservative ซึ่งตรงกับลักษณะการคิดค่าเสื่อมแบบวิธีอัตราเร่ง( ตามสภาพการใชงานจริงที่สุด)
การคำนวณ
การหาอายุการใช้งานว่าใช้ไปแล้วกี่ % = ค่าเสื่อมราคาสะสม/ ราคาทุนของสินทรัพย์นั้น
การหาว่าอายุการใช้งานทั้งหมดนานเท่าไหร่ = ราคาทุนของสินทรัพย์นั้น/ ค่าเสื่อมราคาต่อปี
การคำนวณหาว่าใช้งานมาแล้วกี่ปี = ค่าเสื่อมราคาสะสม/ ค่าเสื่อมราคาต่อปี
การด้อยค่า
สถานการณ์ที่บ่งชี้ว่าด้อยค่า
ผลจากการรับรู้ด้อยค่า
บทความโดย : http://xn--12cfjb4gd5dd4a6b2cxaftl4pk4s.blogspot.com