TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
เตือนภัยทางการเงิน มิติใหม่ทางการบริหาร
เตือนภัยทางการเงิน มิติใหม่ทางการบริหาร
ย้อนกลับ
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
เตือนภัยทางการเงิน มิติใหม่ทางการบริหาร
เตือนภัยทางการเงิน มิติใหม่ทางการบริหาร
ย้อนกลับ
มุ่งมั่นพัฒนาเครื่องมือทางการเงิน
การเตือนภัยทางการเงินเป็นมิติหนึ่งที่มีความจำเป็นและสำคัญยิ่งต่อการบริหารงาน และด้วยความมุ่งมั่นของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ต่อการพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งพึ่งตนเอง จึงได้สร้างและ
พัฒนาเครื่องมือเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อใช้เป็นกลไกหนึ่งทางการ บริหารสู่ความมั่นคง เข้มแข็ง อิสระ และพึ่งตนเองของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้ในที่สุด
แนวคิดมุมมองการเตือนภัยทางการเงิน
เพื่อเป็นการกระตุ้นแนวคิดต่อมุมมองการเตือนภัยทางการเงินให้กับขบวนการสหกรณ์ ผู้สอบบัญชีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้รับเกียรติจาก ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย ผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์
เศรษฐกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้า และ ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรรมการผู้จัดการ (หัวหน้าฝ่ายวิจัย) บริษัทหลักทรัพย์์
ภัทร จำกัด มาร่วมสร้างแนวคิดมุมมองการเตือนภัยทางการเงินผ่านการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “เตือนภัยทาง
การเงิน...มิติใหม่ทางการบริหาร” โดยมี คุณศิริบูรณ์ ณัฐพันธ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2551
ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถ.วิภาวดี-รังสิต กรุงเทพมหานคร
การเสวนาครั้งนี้เติมเต็มเนื้อหาสาระที่น่าสนใจ ทั้งในมุมมองภาคธุรกิจและภาคสหกรณ์ ดังนี้
บริหารความเสี่ยงทุกมิติที่เกี่ยวเนื่อง
ภาคธุรกิจต่างๆ จะมีการตั้งกรรมการบริหารความเสี่ยง Risk Management Committee เพื่อเตือนภัยให้เห็นถึงความเสี่ยงของธุรกิจที่เป็นกังวล และเพื่อการทำแผนธุรกิจในแต่ละปี วางเป้าหมายเกี่ยวกับปริมาณเงิน กำไรรวมถึงการติดตามสถานการณ์ทางธุรกิจ และการเมืองของประเทศไทยและของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งระยะหลังความผันผวนของธุรกิจมีความผันผวนสูงมากเปลี่ยนไปจากที่คาดหมาย แสดงว่า สถานการณ์มีความเสี่ยงรุนแรง
เงินเฟ้อรุนแรง ธุรกิจแย่ลง เศรษฐกิจซึม คนมีเงินน้อยลง ซึ่งเกี่ยวพันกับมิติด้านบุคคล แต่มิติที่ผูกพันกับสหกรณ์คือ ดอกเบี้ย ซึ่งต้องสูงกว่าเงินเฟ้อ เพราะเงินเฟ้อคืออำนาจในการซื้อ ซึ่งดอกเบี้ยเงินฝาก ควรเกินร้อยละ 5 สำหรับประเทศไทยการทำให้อัตราดอกเบี้ยสูงในระยะสั้นไม่ง่ายนัก แต่อาจต้องปรับตัว ถ้าเงินเฟ้อสูงดอกเบี้ยก็ต้องขึ้น
CAM หัวใจแห่งความมั่นคง
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ได้พัฒนาเครื่องมือเตือนภัยทางการเงินที่มีประโยชน์ ตามมาตรฐานสากลของการวิเคราะห์
CAMELS 6 มิต
ิ
ที่ธนาคารพาณิชย์ที่ใช้กันทั่วโลก
C คือ ตัวที่วัดความเข้มแข็งของเงินทุน
A
คือ คุณภาพของสินทรัพย
์
M คือ อัตราการใช้จ่ายไม่ให้สูงมากเมื่อเทียบกับกำไรเกินกว่าครึ่ง
CAM จึงเป็นหัวใจสำหรับความมั่นคงของสถาบันการเงินที่สำคัญมากที่สุด ถือว่าเป็นปัจจัยพื้นฐาน ถ้าได้มอง 3 มิติหลักนี้ ทำให้มั่นใจได้ว่าสามารถบริหารผ่านวิกฤติได้ สำหรับ ELS ขึ้นอยู่กับสภาวการณ์ว่ามีโอกาสทำกำไรมากน้อยเพียงไรถือเป็นส่วนเติมเต็ม
CFSAWS:ss เครื่องมือเตือนภัยภาคสหกรณ์
สถานการณ์ทางการเงินมีการปรับเปลี่ยน ความไม่แน่นอนและปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นตามมา จึงจำเป็นต้องพยามมองหาหัวใจแห่งความมั่นคงทางการเงิน ที่กล่าว คือ
CAM เป็นมาตรฐานสากล ที่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือเตือนภัย CFSAWS เป็นเครื่องมือที่วัดผลในอดีต
เพื่อให้สหกรณ์มองอนาคตให้สามารถมองหาทาง และปรับตัวเองเพื่ออนาคตได้
ข้อมูลที่ได้นั้นต้องอาศัยการวิเคราะห์เชิงลึกตามสภาพการณ์ของแต่ละสหกรณ์ ซึ่งเครื่องมือเตือนภัย CFSAWS สามารถช่วยได้มาก
หากองค์กรของคุณ มี M, A, C เป็นสีเขียวหรือเข้มแข็งอยู่แล้ว รับรองว่าจะวิกฤติยังไงก็ไม่เจ๊ง แต่มีีตัวเสริมให้องค์กรแข็งแกร่งมากขึ้น คือ
E LS
ซึ่ง
E - ยิ่งดียิ่งได้ผลกำไรมากทำให้เกิดความมั่นคงมาก
L - การบริหารสภาพคล่อง
และ
S - ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิจ
ถ้าสหกรณ์ทำได้ทั้ง 6 หลักนี้ จะทำให้องค์กรมีผลกำไรและแข็งแกร่งมาก
จุดเริ่มต้นที่ดีในการวิเคราะห์
CFSAWS เป็นจุดเริ่มต้นที่ดี และได้ผลโดยตรงคือ สะดวก ง่าย และช่วยร่นระยะเวลา ประหยัดเวลาในการทำงาน ซึ่งสามารถนำเอาไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานกลาง หรือกลุ่มเพื่อน (Peer Group) ได้ ทั้งนี้ น้ำหนักที่ต้อง
เน้นคือ E เพื่อเป็นความเจริญเติบโตหรือประโยชน์ของสมาชิกสหกรณ์ S เป็นสิ่งที่ต้องเข้าไปดูรายละเอียดให้มาก เพราะเป็นเรื่องยากต้องอาศัยการประเมิน การคาดการณ์ที่แม่นยำ ต้องศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ทาง
เศรษฐกิจให้ดี
สรุป
การสหกรณ์เป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงคือ ในส่วนบุคคลถือเป็นการฝึกให้สมาชิกได้รู้จักออม รู้จักวางแผนการใช้เงิน ในส่วนสหกรณ์ถือเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงขั้นที่ 2 คือ เชื่อมโยงครัวเรือนมาเป็นกลุ่ม สหกรณ์เป็นองค์กรที่จำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ และสหกรณ์เป็นตัวสำคัญของแผนพัฒนาประเทศ ฉบับที่ 10 ที่ต้องส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง และในรัฐธรรมนูญก็ได้ระบุไว้ว่าให้ส่งเสริมสหกรณ์ ดังนั้น สหกรณ์จึงเป็นพื้นฐานสำคัญในการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์มีภูมิคุ้มกันในตัว เพราะปัจจุบันโลกเปลี่ยนไปเร็ว มีความเสี่ยงสูง ถ้าส่งเสริมสหกรณ์มากๆ จะช่วยให้ประเทศมีภูมิคุ้มกันที่ดี เพียงแต่จะต้องทำอย่างไร ซึ่งเราต่างก็ได้คำตอบจากการเสวนาครั้งนี้
บทความโดย :
https://www.cad.go.th
1431
ผู้เข้าชม
หมวดหมู่
1145
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1110
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
17-18 ธันวาคม 2567 (เวลา 09:00 - 16:00)
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com