TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
บัญชีโคตรง่าย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
บัญชีโคตรง่าย
1110 รายการ
กระดาษทำการเพื่อจัดทำงบการเงินรวมกรณีสำนักงานใหญ่ส่งสินค้าไปให้สาขาในราคาทุน
กระดาษทำการเพื่อจัดทำงบการเงินรวมกรณีสำนักงานใหญ่ส่งสินค้าไปให้สาขาในราคาทุน
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสาขาสามารถทำได้ 3 วิธี คือ วิธีที่ 1 สำนักงานใหญ่บันทึกรายการค้าเกี่ยวกับสาขาเอง สำนักงานใหญ่จะเป็นฝ่ายเก็บบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสาขารวมหรือแยกจากรายการของสำนักงานใหญ่ โดยให้สาขาส่งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งสิ้นมาให้สำนักงานใหญ่เพื่อบันทึกบัญชีโดยละเอียด การดำเนินงานของสาขาในลักษณะนี้คล้ายกับตัวแทน ใช้กับสาขาที่เพิ่งตั้งขึ้นใหม่ ยังมีรายการค้าไม่มาก และสำนักงานใหญ่ยังไม่ให้อิสระในการดำเนินงาน วิธีที่ 2. บันทึกบัญชีทั้งที่สำนักงานใหญ่และสาขา เมื่อสาขาบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชีของสาขาแล้วจึงส่งรายงานให้สำนักงานใหญ่เพื่อให้สำนักงานใหญ่บันทึกบัญชีเช่นเดียวกัน จะทำให้สำนักงานใหญ่ทราบผลการดำเนินงานของสาขาโดยไม่ต้องรอให้สาขารายงาน แต่จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรในการดำเนินงาน ข้อดี ทันเวลา ซึ่งปัจจุบันสามารถทำได้โดยใช้ระบบออนไลน์ ระหว่างสำนักงานใหญ่และสาขา โดยใช้ระบบสารสนเทศ ข้อเสีย สิ้นเปลือง ซ้ำซ้อน ต้นทุนสูง วิธีที่ 3 สาขาบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นเองโดยสมบูรณ์ตามหลักบัญชีคู่ วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมมากที่สุด เมื่อสาขาบันทึกบัญชีตามรายการค้าที่เกิดขึ้น (โดยเปิดบัญชี "เดินสะพัดสำนักงานใหญ่") และทำการปิดบัญชีแล้ว จึงจัดทำงบการเงินของสาขา หลักจากนั้นจึงส่งงบทดลองให้สำนักงานใหญ่เพื่อให้สำนักงานใหญ่นำไปจัดทำงบการเงินรวม (โดยสำนักงานใหญ่จะเปิดบัญชี "เดินสะพัดสาขา") เพื่อแสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานโดยรวมของสำนักงานใหญ่และสาขา การตัดบัญชีเพื่อจัดทำงบการเงินรวม เมื่อสำนักงานใหญ่ส่งสินค้าไปให้สาขาในราคาทุนมีหลักการตัดัญชี ดังนี้
4023 ผู้เข้าชม
การจัดทำงบการเงินรวมกรณีสำนักงานใหญ่ส่งสินค้าไปให้สาขาในราคาทุน
การจัดทำงบการเงินรวมกรณีสำนักงานใหญ่ส่งสินค้าไปให้สาขาในราคาทุน
งบการเงินรวม งบการเงินรวม หมายถึง งบการเงินของกลุ่มกิจการ (ซึ่งกลุ่มกิจการ หมายถึง บริษัทใหญ่และบริษัทย่อย ) ที่มีการนำเสนอสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าผู้ถือหุ้น รายได้ ค่าใช้จ่าย และกระแสเงินสดของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อยเสมือนว่าเป็นของหน่วยงานทางเศรษฐกิจหน่วยงานเดียวกัน งบที่จัดเตรียมขึ้นนสาหรับบริษัทใหญ่และบริษัทย่อยเรียกว่า “งบการเงินรวม” (Consolidated financial statements) ซึ่งประกอบด้วยงบกาไรขาดทุนเบดเสร็จรวมงบกาไรสะสมรวมงบรวม และงบกระแสเงินสดรวม
1934 ผู้เข้าชม
การบันทึกบัญชีกรณีสำนักงานใหญ่ส่งสินค้าไปให้สาขาในราคาทุน
การบันทึกบัญชีกรณีสำนักงานใหญ่ส่งสินค้าไปให้สาขาในราคาทุน
การบัญชีด้านสำนักงานใหญ่ การบันทึกบัญชีสำหรับรายการที่เกี่ยวข้องกับสินค้าที่ส่งให้สาขา แยกเป็นแต่ละวิธีของการแจ้ง ราคาสินค้าที่ส่งให้สาขาทราบและ วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าดังนี้ - เมื่อส่งสินค้าให้สาขา ในราคาทุน การบันทึกบัญชีเป็นดังนี้
3770 ผู้เข้าชม
ราคาสินค้าที่สำนักงานใหญ่ส่งไปให้สินค้า
ราคาสินค้าที่สำนักงานใหญ่ส่งไปให้สินค้า
การบัญชีเกี่ยวกับสินค้าส่งไปให้สาขา การจัดส่งสินค้าของสำนักงานใหญ่ไปให้สาขาย สำนักงานใหญ่มีวิธีการแจ้งราคาแก่สาขาที่แตก ต่างกันขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละกิจการ ราคาสินค้าที่สำนักงานใหญ่แจ้งให้สาขาทราบอาจเป็นราคาใด ราคาหนึ่งดังนี้ 1) ราคาทุนของสำนักงานใหญ่ (Home Office Cost) เป็นวิธีที่มีแนวคิดว่ากำไรที่เกิดขึ้นเป็นผลการดำเนินงานของสาขาทั้งสิ้น สำนักงานใหญ่สามารถ นำกำไรขาดทุนที่สาขาแจ้งมารวมกันกับกำไรขาดทุนของสำนักงานใหญ่ได้เลยไม่ต้องปรับปรุงแต่ประการใด และ สินค้าคงเหลือของสาขาก็แสดงด้วยราคาทุนที่ได้มาแล้วซึ่งเป็นราคาที่เหมาะสมจึงไม่ต้องมีการปรับปรุง
1409 ผู้เข้าชม
การบันทึกบัญชีสำนักงานใหญ่และสาขา
การบันทึกบัญชีสำนักงานใหญ่และสาขา
ในการประกอบธุรกิจต่างๆ สิ่งที่ผู้ประกอบธุรกิจต้องการนอกจากความมั่นคงของกิจการแล้ว ธุรกิจยัง ต้องการความเจริญเติบโตของธุรกิจโดยการขยายกิจการให้ใหญ่ขึ้น มีสาขาเพิ่มมากขึ้นทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ มีการกระจายสินค้าให้ถึงมือผู้บริโภคโดยผ่านตัวแทนการจัดจำหน่ายเโดยให้สิ่งจูงใจแก่ตัวแทนการ จำหน่ายที่เพียงพอเป็นการตอบแทน ซึ่งกลยุทธ์เหล่านี้มีการนำมาใช้ค่อนข้างแพร่หลายเพื่อความมั่นคงทางการเงิน และการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง
9203 ผู้เข้าชม
การทำบัญชีสำหรับผู้รับเหมาก่อสร้าง (บุคคลธรรมดาไม่จดVAT)
การทำบัญชีสำหรับผู้รับเหมาก่อสร้าง (บุคคลธรรมดาไม่จดVAT)
Home » เรื่องบัญชี (Accounting) » การทำบัญชีสำหรับผู้รับเหมาก่อสร้าง (บุคคลธรรมดาไม่จดVAT) การทำบัญชีสำหรับผู้รับเหมาก่อสร้าง (บุคคลธรรมดาไม่จดVAT) By Nittha Pantuseema (Admin) On July 19, 2017 In เรื่องบัญชี (Accounting) 2 Comments 121 การทำบัญชีสำหรับผู้รับเหมาก่อสร้าง (บุคคลธรรมดาและไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม) เขียนตอนนี้ขึ้นมาเพื่อผู้ประกอบกิจการรับเหมาก่อสร้าง เหตุผลเพราะหลังจากได้ทำงานกับผู้รับเหมาก่อสร้างมาสักระยะ พบปัญหาของผู้รับเหมาคือทำงานจบแล้วทำไมถึงไม่มีเงินเหลือ ไม่ทราบกำไรต้นทุนที่แท้จริงในงานที่ทำ ไม่เข้าใจระบบภาษีที่ถูกหักไว้แล้วนำไปยื่นภาษียังไงส่วนใหญ่เลยไม่ได้ยื่นภาษีปรากฏสรรพากรมีการตรวจสอบและโดนภาษีย้อนหลังเลยก็มาก ทำงานเสร็จแล้วจะต้องเก็บข้อมูลยังไง ต้องเตรียมตัวสำหรับงานใหม่ยังไง ขอสรุปกระบวนการสำหรับการจัดการสำหรับกิจการรับเหมาก่อสร้างเฉพาะที่เป็นบุคคลธรรมดาและไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หากคุณเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างไม่ว่าจะเป็น งานรั้ว งานไฟฟ้า ระบบประปา งานติดตั้ง ฯลฯ ถ้าทำให้ถูกต้องก็ไม่มีอะไรต้องกลัวนะคะเรามาเริ่มกันเลย ก่อนเริ่มงาน
10826 ผู้เข้าชม
ระบบเงินสดย่อย (Petty Cash)
ระบบเงินสดย่อย (Petty Cash)
ระบบเงินสดย่อย (Petty Cash) เงินสดย่อย หมายถึง เงินสดจำนวนหนึ่งที่กิจการเบิกธนาคารมาเก็บไว้กับแคชเชียร์ (หรือผู้รักษาเงินสดย่อย) เพื่อกิจการจะได้มีไว้ใช้จ่าย สำหรับรายการที่มีจำนวนไม่สูงมากนัก ระบบควบคุมภายในที่ดี กิจการไม่ค่อยนำเงินสดมาใช้จ่าย แต่การจ่ายเงินผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารโดยการเขียนเช็คสั่งจ่ายในนามผู้รับ และขีดคร่อมเช็คฉบับนั้น และโอนเข้าบัญชีธนาคารของผู้ถือเงินสดย่อยไว้ในมือจำนวนมากๆ เหตุผลเพราะ
97948 ผู้เข้าชม
ประโยชน์ของมาตรการบัญชีชุดเดียว
ประโยชน์ของมาตรการบัญชีชุดเดียว
ประโยชน์ที่แท้จริงของมาตรการบัญชีชุดเดียว ( SMEs ) เมื่อต้นปี 2559 มีข่าวที่สร้างความฮือฮาให้กับแวดวง SMEs ของเราคือ การที่ภาครัฐขอให้ SMEs จัดทำบัญชีชุดเดียว และต้องเข้าระบบให้ถูกต้อง ฟังแล้วเหมือนจะโหดร้ายกับหลาย ๆ SMEs ที่ไม่เคยเน้นเรื่องภาษีเลย ไม่รู้ว่า เราจะได้ประโยชน์อะไรกับมาตรการบัญชีชุดเดียวที่รัฐบาลชงออกมา ของแถมตอนนี้ที่เราจะได้รับจากภาครัฐง่ายๆเลยคือ โปรแกรมบัญชีที่ทางรัฐจัดให้แบบฟรี ๆ เพื่อทำให้ธุรกิจของเรามีการจัดทำบัญชีสะดวกขึ้นและมาตรฐานเดียวกัน คือ เราจะรู้ว่า กำไรขาดทุน เท่าไหร่ ฐานะการเงินของบริษัทเป็นอย่างไรสำหรับในธุรกิจที่เราทำอยู่ เพราะ SMEs ของเราตอนนี้ส่วนใหญ่ไม่ได้รับรู้กำไรขาดทุนที่แท้จริงเป็นเท่าไหร่ หรือฐานะทางการเงินจริงๆ เป็นอย่างไร จะมีแค่เหลือเงินเท่าไหร่ การไปขอเงินกู้จากธนาคารก็ทำได้ยากเพราะบางบริษัทไม่มีระบบบัญชีสนับสนุน ซึ่งหากเรามีอย่างน้อย ๆ ตอนนี้คือระบบบัญชีที่รัฐบาลออกมาให้โหลดฟรี ๆ มา คิดดูแล้วกันว่าธุรกิจเราจะไปไกลแค่ไหน เพราะเหตุผลง่าย ๆแค่นี้ จึงมีมาตรการบัญชีชุดเดียวขึ้นมาช่วยเหลือชาว SMEs ที่มีอีกหลายร้อยรายกำลังจะจมน้ำตายเพราะไม่มีระบบบัญชีไว้คอยช่วยเหลือกิจการ
2190 ผู้เข้าชม
5 สูตรบัญชีสำคัญ ที่คุณควรรู้
5 สูตรบัญชีสำคัญ ที่คุณควรรู้
5 สูตรบัญชีสำคัญ ที่คุณควรรู้ 5 สูตรบัญชีสำคัญ ที่คุณควรรู้ หากพิจารณาข้อมูลในงบการเงิน ไม่ว่าจะเป็นรายงานงบดุล (Balance Sheet) หรือ งบกำไรขาดทุน (Income statement) จะพบว่าทั้งสองรายงานประกอบด้วยข้อมูลทางบัญชีจำนวนมาก ซึ่งในความเป็นจริงแล้วผู้ใช้ประโยชน์จากงบการเงิน เช่น ผู้ประกอบการ / เจ้าของกิจการ นักลงทุน หรือคู่ค้าทางธุรกิจ ไม่จำเป็นต้องใช้ทุกข้อมูลที่ปรากฏในรายงานทางบัญชี เนื่องจากมีวิธีการอ่านงบการเงินที่ง่าย โดยการเข้าใจสูตรบัญชีที่สำคัญ ซึ่งในบทความนี้ ได้รวบรวม 5 สูตรการบัญชีที่ใช้บ่อยที่สุด เพื่อเป็นประโยชน์ในการนำข้อมูลทางบัญชีไปวิเคราะห์ได้ง่ายยิ่งขึ้น ดังนี้
152626 ผู้เข้าชม
การบันทึกบัญชีมีกี่ประเภท และมีหลักการบันทึกบัญชีอย่างไรบ้าง
การบันทึกบัญชีมีกี่ประเภท และมีหลักการบันทึกบัญชีอย่างไรบ้าง
การบันทึกบัญชีมีกี่ประเภท และมีหลักการบันทึกบัญชีอย่างไรบ้าง การบันทึกบัญชี แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ ระบบบัญชีเดี่ยว เป็นวิธีการบันทึกบัญชีเพียงด้านเดียวเท่านั้นคือ ด้านเดบิตหรือด้านเครดิต ระบบบัญชีเดี่ยวนี้จะบันทึกเฉพาะ รายการในบัญชีเงินสด หรือ บัญชีที่สำคัญบางบัญชี เช่น บัญชีลูกหนี้หรือบัญชีเจ้าหนี้เท่านั้น โดยไม่ได้ใช้การบันทึกรายการ ตามระบบบัญชีคู่ที่ต้องบันทึกรายการบัญชีทั้งด้านเดบิตและเครดิต การบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีเดี่ยวนี้นิยมใช้ในกิจการ ขนาดเล็กที่เจ้าของเป็นผู้ควบคุมและจดบันทึกเอง สำหรับธุรกิจขนาดย่อมขึ้นไปไม่ควรนำระบบบัญชีเดี่ยวมาใช้ เนื่องจากจะมี ปัญหาในการเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทางการบัญชี และการจัดทำงบการเงิน
44112 ผู้เข้าชม
193435 ผู้เข้าชม
«
1
...
68
69
70
71
72
73
...
111
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1145
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1110
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
17-18 ธันวาคม 2567 (เวลา 09:00 - 16:00)
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com