รายการบทความที่ค้นหา

รายการบทความที่ค้นหา

2296 รายการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนประกอบกิจการ ทั้ง VAT และ NON VAT นำสินค้าหรือบริการไปใช้ในกิจการใดกิจการหนึ่งหรือกิจการทั้ง 2 ประเภท โดยไม่สามารถแยกได้ชัดเจนว่านำไปใช้ในกิจการประเภทใด ดังนั้นผู้ประกอบการต้องเฉลี่ยภาษีซื้อที่จะนำมาหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
1710 ผู้เข้าชม
การจัดซื้อ หมายถึงการกระทําที่จัดซื้อเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ของใช้ต่าง ๆ ตามที่กิจการต้องการใช้ โดยมีคุณสมบัติที่ถูกต้องในจํานวนที่ถูกต้องภายในจังหวะเวลาที่ถูกต้อง ในราคาที่ถูกต้องจากแหล่งผู้ขายที่ถูกต้อง โดยนําส่งไปยังสถานที่ที่ถูกต้อง
2221 ผู้เข้าชม
ปัจจุบันมีการลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจาก 10% เหลือ 7% ซึ่งอัตรานี้จะสิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2564 แต่อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาออกไปอีก 2 ปี ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 สำหรับการขายสินค้า การให้บริการ หรือนำเข้าทุกกรณีที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
964 ผู้เข้าชม
สินทรัพย์ในทางบัญชี หมายถึง ทรัพยากรที่มีและอยู่ในการควบคุมของกิจการ สินทรัพย์นี้อาจจะเป็นสิ่งที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้ ซึ่งสามารถตีราคามูลค่าเป็นเงินได้ ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผล ของ เหตุการณ์ในอดีต ซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต
1373 ผู้เข้าชม
การทำธุรกรรมเกี่ยวกับการเงิน หรือติดต่อทางการค้าประเภทต่างๆ จำเป็นจะต้องมี "ใบเสร็จรับเงิน" และ "บิลเงินสด" เป็นเอกสารสำคัญในการยื่นทำเรื่องเบิก จ่าย ชำระเงิน และเก็บไว้เป็นหลักฐานเพื่อตรวจสอบในภายหลังได้ แม้เอกสารทั้ง 2 แบบจะที่ความคล้ายกัน แต่ก็มีข้อแตกต่างที่ควรรู้ไว้ เพื่อที่จะได้เลือกนำไปใช้งานได้อย่างถูกต้อง
5406 ผู้เข้าชม
เมื่อมีการจ่ายเงินออกนอกประเทศตาม ม.70 แห่งประมวลรัษฎากร แบบยื่นฯ ที่หลายคนคิดถึงคงหนีไม่พ้น ภ.พ.36 และ ภ.ง.ด.54
7156 ผู้เข้าชม
ภาษีการรับมรดก เป็นภาษีที่เก็บจากมูลค่ามรดกที่ทายาทแต่ละคนได้รับจากกองมรดก โดยที่ผู้รับมรดกเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี และมักจะมีการกำหนดค่าลดหย่อนและอัตราภาษีที่เป็นประโยชน์กับผู้รับมรดกที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้ตาย ทำให้ผู้รับมรดกที่มีความใกล้ชิดกับผู้ตายมีภาระภาษีที่น้อยกว่าผู้รับมรดกแต่ละคนมากกว่า เพราะรับภาระภาษีตามสัดส่วนมูลค่าของมรดกที่ตนได้รับ
852 ผู้เข้าชม
รายงานการเงินเป็นเครื่องมือที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินตามวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันของผู้ใช้ ดังนั้น จึงอาจจำแนกการบัญชีตามวัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูลได้เป็น 2 ลักษณะคือ การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) และการบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) ดังนี้
874 ผู้เข้าชม
ผู้ที่สามารถอ่านและเข้าใจในงบการเงิน ก็จะสามารถนำไปวิเคราะห์เพื่อประเมินสภาพคล่องของกิจการ โอกาสการเติบโต และคุณภาพในการดำเนิน งานภายในของกิจการนั้นๆ และไม่เพียงแต่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการเท่านั้นที่จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับงบการเงิน ยังมีบุคคลอีกหลายกลุ่มที่สามารถนำข้อมูลจากงบการเงินไปใช้ประโยชน์ได้
5160 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์