จากบทความ งบดุล (Balance Sheet)(1) เราพูดถึงรายละเอียดของงบดุล ทั้งสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของไปแล้ว ในบทความนี้เราจะพูดถึงส่วนประกอบต่างๆของ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของกันบ้าง ว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง
สินทรัพย์ (Assets)
สินทรัพย์ยังแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) – สินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้อย่างรวดเร็ว กิจการมีวัตถุประสงค์ถือสินทรัพย์เหล่านั้นไว้เพื่อค้า เช่น
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non – Current Assets) – สินทรัพย์ที่กิจการมีไว้ในครอบครอง และให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจมากกว่า 1 รอบระยะเวลาดำเนินงาน เช่น
หนี้สิน (Liability)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเช่นกัน คือ
หนี้สินหมุนเวียน (Current Liability) – หนี้สินที่มีกำหนดชำระภายใน 1 ปี และยังรวมถึงหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี เช่น
หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non – Current Liability) – หนี้สินที่ไม่สามารถจัดอยู่ในหนี้สินหมุนเวียน รวมถึงหนี้สินที่มีกำหนดชำระเกินกว่า 1 ปี เช่น
ส่วนของเจ้าของ (Owners’ Equity)
ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินออกแล้ว หรือก็คือส่วนของทุนที่ออกจากกระเป๋าสตางค์ของเราโดยตรง เช่น
รายละเอียดบางอย่างอาจจะแตกต่างกันไปบ้าง โดยจะขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจนั้นๆ
ส่วนประกอบของงบดุล หลักๆแล้วก็จะมีเพียงเท่านี้ ถ้าอ่านดูแล้วยังงงๆ ผมแนะนำให้เปิดงบการเงินของกิจการควบคู่ไปด้วย อาจจะไม่เข้าใจทั้งหมดก็ไม่เป็นไร แต่จะช่วยให้มองเห็นภาพได้มากขึ้น
จากบทความ งบดุล (Balance Sheet)(1) เราพูดถึงรายละเอียดของงบดุล ทั้งสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของไปแล้ว ในบทความนี้เราจะพูดถึงส่วนประกอบต่างๆของ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของกันบ้าง ว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง
สินทรัพย์ (Assets)
สินทรัพย์ยังแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) – สินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้อย่างรวดเร็ว กิจการมีวัตถุประสงค์ถือสินทรัพย์เหล่านั้นไว้เพื่อค้า เช่น
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non – Current Assets) – สินทรัพย์ที่กิจการมีไว้ในครอบครอง และให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจมากกว่า 1 รอบระยะเวลาดำเนินงาน เช่น
หนี้สิน (Liability)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเช่นกัน คือ
หนี้สินหมุนเวียน (Current Liability) – หนี้สินที่มีกำหนดชำระภายใน 1 ปี และยังรวมถึงหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี เช่น
หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non – Current Liability) – หนี้สินที่ไม่สามารถจัดอยู่ในหนี้สินหมุนเวียน รวมถึงหนี้สินที่มีกำหนดชำระเกินกว่า 1 ปี เช่น
ส่วนของเจ้าของ (Owners’ Equity)
ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินออกแล้ว หรือก็คือส่วนของทุนที่ออกจากกระเป๋าสตางค์ของเราโดยตรง เช่น
รายละเอียดบางอย่างอาจจะแตกต่างกันไปบ้าง โดยจะขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจนั้นๆ
ส่วนประกอบของงบดุล หลักๆแล้วก็จะมีเพียงเท่านี้ ถ้าอ่านดูแล้วยังงงๆ ผมแนะนำให้เปิดงบการเงินของกิจการควบคู่ไปด้วย อาจจะไม่เข้าใจทั้งหมดก็ไม่เป็นไร แต่จะช่วยให้มองเห็นภาพได้มากขึ้น