TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
More
Blog
BLOG myAccount Cloud
ย้อนกลับ
หน้าแรก
More
Blog
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
BLOG myAccount Cloud
BLOG myAccount Cloud
1639 รายการ
วางแผนเรื่องเงินอย่างฉลาด เรื่องสุขภาพ...ก็พลาดไม่ได้
วางแผนเรื่องเงินอย่างฉลาด เรื่องสุขภาพ...ก็พลาดไม่ได้
มีหลายคนเลยค่ะที่มาดามเห็นว่าไม่วางแผนให้ดี แถมบางทีเกิดเจ็บป่วยขึ้นมาที โอ้โห...สะเทือนกันทั้งบ้าน บางทีถึงขั้นเงินที่เก็บออมมาทั้งชีวิตอาจจะหมดไปได้เลยทีเดียว... การวางแผนเรื่องเงินจึงขาดเรื่องสุขภาพไม่ได้เด็ดขาด เพราะมันคือรายจ่ายก้อนใหญ่มาก
1120 ผู้เข้าชม
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
การจัดทำงบประมาณเหมาะสำหรับธุรกิจที่กำลังเจริญเติบโตเป็นอย่างมาก การจัดทำงบประมาณจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถควบคุมการขายและค่าใช้จ่ายได้ง่ายขึ้นโดยผ่านตัวเลขทางบัญชีและการเงิน ฉะนั้นการจัดทำงบประมาณถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการควบคุมต้นทุน ค่าใช้จ่ายของธุรกิจ และยังเป็นเครื่องมือให้ฝ่ายบริหารสามารถวางแผนการใช้เงินในแต่ละช่วงเวลาอีกด้วย นอกจากนั้นยังเป็นเครื่องมือในการวางแผนกำไรของกิจการด้วย ลักษณะและรูปแบบของงบประมาณจะเป็นตัวเลขทั้งจำนวนหน่วยที่ขายหรือผลิตและจำนวนเงินซึ่งได้จากแผนงานที่พยากรณ์ไว้ในปีถัดไป การจัดทำงบประมาณมักจัดทำไปพร้อมกับการจัดทำแผนดำเนินงานประจำปีซึ่งผู้จัดทำต้องคำนึงถึงสิ่งเหล่านี้ วัตถุประสงค์ของบริษัท, เป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาวของบริษัท ผู้จัดการฝ่ายจะเป็นผู้จัดทำแผนของฝ่ายตนเองโดยมักจะเริ่มจัดทำตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมเพื่อวางแผนการขาย ในปีถัดไปนั่นเอง การจัดทำแผนจะประกอบไปด้วยแผนต่างๆเช่น แผนตลาด แผนผลิต แผนการจัดการ แผนบุคลากร แผนการเงินและบัญชี ธุรกิจที่มีการวางแผนตามกลยุทธ์แล้วเจ้าของกิจการก็จะเฝ้าติดตามว่าธุรกิจได้ดำเนินไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ โดยติดตามจากตัวเลขของงบประมาณที่ตั้งไว้นั่นเองเพราะการวางแผนจะบอกว่าปีหน้าจะขายเพิ่มขึ้นอีกเท่าใด หากการวางแผนไม่มีการระบุเป็นตัวเลข เจ้าของกิจการหรือผู้บริหารก็ไม่สามารถติดตามควบคุมการขายและค่าใช้จ่ายได้เลย
92622 ผู้เข้าชม
7 วิธีบริหารเงินแบบ Thailand Only
7 วิธีบริหารเงินแบบ Thailand Only
หลายๆ ครั้งที่ได้มีการสำรวจโดยธนาคารแห่งประเทศไทยและกระทรวงการคลัง เกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการเงินของบุคคล พบว่า คนไทยจำนวนมากมีนิสัยในการจัดการเงินค่อนข้างต่ำ
860 ผู้เข้าชม
ข้อผิดพลาดของรอบระยะเวลาบัญชีก่อนและการแก้ไขข้อผิดพลาด
ข้อผิดพลาดของรอบระยะเวลาบัญชีก่อนและการแก้ไขข้อผิดพลาด
กิจการอาจพบข้อผิดพลาดในการจัดทำงบการเงินของงวดก่อน ๆ ในงวดปัจจุบัน ข้อผิดพลาดดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจากการคำนวณตัวเลขผิด การนำนโยบายบัญชีมาปฏิบัติไม่ถูกต้อง การตีความผิดพลาด การทุจริตหรือความเลินเล่อ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น
4582 ผู้เข้าชม
การจำแนกประเภทต้นทุนเพื่อการบริหาร
การจำแนกประเภทต้นทุนเพื่อการบริหาร
การคำนวณหาต้นทุนที่แท้จริงของผลิตภัณฑ์มีความสำคัญในการบริหารงาน ทั้งด้านการตลาดและการผลิตและเพื่อการตั้งราคาขายผลิตภัณฑ์หนึ่งผลิตภัณฑ์ใดด้วย ผู้บริหารจำเป็นต้องใช้ข้อมูลต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่างๆเพื่อการวางแผนธุรกิจและเพื่อวัดผลดำเนินการของกิจการว่ามีกำไรหรือขาดทุน ดังนั้นข้อมูลตัวเลขของต้นทุนจึงใช้ในการประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการด้วยการจำแนกประเภทของต้นทุนออกมาในหลายลักษณะที่ต่างกันเพราะต้นทุนในแต่ละประเภทก็จะมีวัตถุประสงค์การใช้ในการตัดสินใจแต่ละปัญหาที่ต่างกันไปซึ่งจะส่งผลให้การจำแนกต้นทุนมีหลายมุมมองได้และเกิดประโยชน์ในแต่ละมุมมองนั่นเอง
40297 ผู้เข้าชม
ราคาตามบัญชีต่อหุ้น กำไรต่อหุ้น การแก้ไขข้อผิดพลาดของรอบระยะเวลาบัญชีก่อน
ราคาตามบัญชีต่อหุ้น กำไรต่อหุ้น การแก้ไขข้อผิดพลาดของรอบระยะเวลาบัญชีก่อน
ส่วนเฉลี่ยของมูลค่าสุทธิของสินทรัพย์ที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญต่อหุ้นสามัญหนึ่งหุ้น ซึ่งเป็นราคา ณ วันใดวันหนึ่งที่คำนวณจากงบดุลของบริษัท ณ วันนั้น
4908 ผู้เข้าชม
ศิลปะการทวงหนี้และติดตามหนี้ที่มีปัญหา
ศิลปะการทวงหนี้และติดตามหนี้ที่มีปัญหา
สำหรับธุรกิจที่มีการขายเชื่อโดยการให้เครดิตการค้ากับผู้ซื้อส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับปัญหาหนี้เสียมาแล้วทั้งสิ้นเจอหนี้เสีย, หนีหนี้, จ่ายหนี้ช้าเป็นปัญหาผู้บริหารต้องบริหารจัดการแต่ก็เป็นปัญหาที่จัดการยากที่สุด หลายคนบอกว่าก็ขายเงินสดซิจะได้ไม่ต้องมีปัญหานี้เลยหากกิจการขนาดเล็กๆขายอาหาร, ขนมหรือสมุนไพรก็ยังพอขายเงินสดได้แต่หากเป็นกิจการที่ใหญ่ขึ้นมากว่านั้นจำเป็นต้องขายสินค้าในปริมาณมากและเป็นเงินจำนวนมากผู้ซื้อสินค้าก็จะขอเครดิตการค้าอย่างแน่นอนซึ่งเป็นเรื่องที่เลี่ยงไม่ได้เลย หากเรายังจะขายแต่เงินสดในขณะที่คู่แข่งขันให้เครดิตการค้าเราก็จะเสียโอกาสในการขายและคงเป็นกิจการที่เล็กๆต่อไป ดังนั้นการให้เครดิตการค้าแก่ผู้ซื้อไม่ใช่สิ่งที่น่ากลัวอะไรหากเรามีระบบการติดตามหนี้สินและมีระบบการตรวจสอบก่อนการให้เครดิตการค้าแก่ผู้ซื้อแต่ละคนก็จะทำให้ความเสี่ยงเรื่องหนี้เสียและหนี้สูญจะน้อยลงไปได้
33376 ผู้เข้าชม
กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้น
กำไรต่อหุ้น ( Earning Per Share – EPS ) หมายถึง ส่วนเฉลี่ยของกำไรต่อหุ้นสามัญหนึ่งหุ้น กำไรต่อหุ้นใช้เป็นเกณฑ์วัดความสามารถในการทำกำไรของบริษัท นอกจากนี้ยังเป็นดัชนีชี้ราคาตลาดของหุ้นตามที่ควรจะเป็น และแสดงถึงความน่าจะเป็นในการจ่ายเงินปันผลของบริษัททั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนแสดงถึงสมรรถภาพในการบริหารงานของผู้บริหารบริษัทอีกด้วย
7615 ผู้เข้าชม
ทำความเข้าใจ! Bitcoin เกี่ยวข้องกับ Blockchain อย่างไร
ทำความเข้าใจ! Bitcoin เกี่ยวข้องกับ Blockchain อย่างไร
เชื่อว่าหลายๆ คนที่เพิ่งเริ่มทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ หรือเริ่มสนใจศึกษาเกี่ยวกับเงินสกุลบนโลกดิจิทัลอย่าง Bitcoin (บิตคอยน์) อาจกำลังสับสนกับคำสองคำ ที่เรามักจะได้ยิน หรืออ่านผ่านได้บ่อยๆ คำสองคำนั้น ก็คือ Bitcoin (บิตคอยน์) กับ Blockchain (บล็อกเชน)
13824 ผู้เข้าชม
วิธีการจัดทำงบประมาณการเพื่อลดต้นทุนให้ต่ำลง
วิธีการจัดทำงบประมาณการเพื่อลดต้นทุนให้ต่ำลง
ประโยชน์ของการจัดทำงบประมาณทางการเงินก็เพื่อช่วยให้ผู้บริหารและเจ้าของธุรกิจสามารถวางแผนทางการเงินได้ เพราะเงินเป็นเรื่องสำคัญในการทำธุรกิจ ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการที่มีความรู้ ความสามารถและบริหารงานได้ดีมักชอบวางแผนงานล่วงหน้าเพื่อเพิ่มการขาย เพิ่มบุคลากรในแผนกต่าง ๆ และเพื่อการขยายงานด้านการผลิตและค้นหาวิธีการลดต้นทุนของกิจการด้วย การเขียนแผนงานล่วงหน้าจะถูกบันทึกเป็นตัวเลขไว้ในงบประมาณที่ตั้งไว้ เพราะงบประมาณเป็นแผนงานที่แสดงออกมาในรูปของตัวเงินที่ได้ผ่านการพิจารณาและตัดสินใจอย่างรอบคอบแล้ว การใช้งบประมาณตามแผนงานที่ตั้งไว้ก็เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมที่เขียนไว้ในแผนปฏิบัติงานของแผนกต่างๆให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งตามงบประมาณ เช่น งบประมาณการลงทุนโครงการก่อสร้างอาคารสำนักงาน ในงบประมาณนั้นก็จะแสดงจำนวนเงินที่ต้องลงทุนและบอกถึงที่มาของแหล่งเงินทุน นอกจากนั้นในงบประมาณยังแสดงรายจ่ายเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการลงทุนตามโครงการที่ได้วางแผนไว้ ในระยะเวลาตามที่งบประมาณกำหนด
8196 ผู้เข้าชม
287451 ผู้เข้าชม
«
1
...
114
115
116
117
118
119
...
164
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1146
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1111
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com