TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
More
Blog
BLOG myAccount Cloud
ย้อนกลับ
หน้าแรก
More
Blog
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
BLOG myAccount Cloud
BLOG myAccount Cloud
1639 รายการ
ความแตกต่างระหว่างกำไรทางเศรษฐกิจกับกำไรทางบัญชีคืออะไร?
ความแตกต่างระหว่างกำไรทางเศรษฐกิจกับกำไรทางบัญชีคืออะไร?
โดยทั่วไปแล้วผลกำไรคือความแตกต่างระหว่างค่าใช้จ่ายกับรายได้ กำไรทางบัญชีและกำไรทางเศรษฐกิจอาจคล้ายคลึงกัน แต่จริงๆแล้วพวกเขามีความแตกต่างที่สำคัญในการวัดความสามารถด้านการเงินของ บริษัท กำไรทางเศรษฐกิจคำนึงถึงต้นทุนที่ชัดเจนและต้นทุนโดยนัยขณะที่กำไรทางบัญชีใช้เฉพาะค่าใช้จ่ายที่ชัดเจนเท่านั้น
13807 ผู้เข้าชม
ขึ้นทะเบียนขอเป็นผู้ประกอบการบัญชีชุดเดียว รับสิทธิประโยชน์สำหรับ SMEs
ขึ้นทะเบียนขอเป็นผู้ประกอบการบัญชีชุดเดียว รับสิทธิประโยชน์สำหรับ SMEs
SMEs ที่ขึ้นทะเบียนขอเป็นผู้ประกอบการบัญชีชุดเดียว จะได้รับสิทธิพิเศษด้านภาษี ถึง 15 มีนาคม 2559 นี้เท่านั้น ตามที่ได้มีประกาศพระราชกำหนดการยกเว้นและสนับสนุนการปฏิบัติการเกี่ยวกับภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร พ.ศ.2558 และพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตรา และยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 595) พ.ศ. 2558 ผู้ประกอบการสามารถลงทะเบียนและได้รับสิทธิประโยชน์ ยกเว้นเงินได้ 300,000 บาทแรก ได้รับการยกเว้นภาษีนิติบุคคลในปี 2559 และลดภาษีนิติบุคคลเหลือ 10% ในปี 2560
858 ผู้เข้าชม
ระบบแจ้งขอเป็นผู้ประกอบการบัญชีชุดเดียว (SMEs)
ระบบแจ้งขอเป็นผู้ประกอบการบัญชีชุดเดียว (SMEs)
มาตรการบัญชีเล่มเดียวและการยกเว้นและลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับ SMEs หลักการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศพระราชกำหนดการยกเว้นและสนับสนุนการปฏิบัติการเกี่ยวกับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2558 และพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 595) พ.ศ. 2558 โดยเนื้อหาตามพระราชกำหนดฯ และพระราชกฤษฎีกาฯ มีสาระสำคัญ สรุปได้ดังนี้
1002 ผู้เข้าชม
คำยืนยันจากบุคคลภายนอก (หลักฐานในการตรวจสอบบัญชี)
คำยืนยันจากบุคคลภายนอก (หลักฐานในการตรวจสอบบัญชี)
การขอคำยืนยันจากบุคคลภายนอก เป็นวิธีการตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปที่ถูกกำหนดไว้ในการรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 505 เรื่องการขอคำยืนยันจากบุคคลภายนอก ได้ระบุไว้ว่าการใช้วิธีการขอคำยืนยันจากบุคคลภายนอกของผู้สอบบัญชีนั้นก็เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีตามข้อกำหนดในมาตรฐานการสอบบัญชีรหัส 330 “วิธีปฏิบัติของผู้สอบบัญชีในการตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้” และรหัส 500 “หลักฐานการสอบบัญชี”
1000 ผู้เข้าชม
ใบกำกับภาษีและใบรับอิเล็กทรอนิกส์
ใบกำกับภาษีและใบรับอิเล็กทรอนิกส์
ใบกำกับภาษีและใบรับอิเล็กทรอนิกส์ ถือเป็นเอกสารสำคัญเป็นหลักฐานเมื่อซื้อสินค้าหรือรับบริการ ซึ่งปัจจุบันจะมีการเปลี่ยนไปใช้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเมื่อมีการประกอบธุรกิจขายสินค้าหรือให้บริการโดยส่วนมากแล้วมักจะเป็นผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งมีหน้าที่ต้องออกใบกำกับภาษี ใบรับเงิน แล้วส่งมอบให้กับลูกค้า พร้อมทั้งต้องจัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มให้แล้วเสร็จ และต้องยื่นแบบและชำระภาษีภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยทั่วไปแล้วผู้ประกอบการจะออกใบกำกับภาษี ใบรับเงินในรูปแบบของกระดาษให้กับลูกค้าเป็นหลักฐานเอกสารในการซื้อขายสินค้าหรือรับชำระเงิน
2971 ผู้เข้าชม
6.3 9 7 10 ตัวเลขภาษีมูลค่าเพิ่ม( VAT) รู้ไว้ไม่สับสน
6.3 9 7 10 ตัวเลขภาษีมูลค่าเพิ่ม( VAT) รู้ไว้ไม่สับสน
ตัวเลขหลายตัวที่เกี่ยวกับ ภาษีมูลค่า เพิ่มนั้นมีที่ไปและที่มา ถ้ารู้ก็จะช่วยให้เข้าใจและไม่สับสนครับ เราอาจจะเคยได้ยินคำถามหรือข้อสงสัยทุกครั้งที่มีข่าวปรับลด ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) เช่น ทราบหรือยังว่ารัฐบาลประกาศลดอัตรา ภาษีมูลค่าเพิ่ม เหลือ 6.3% แล้วนะ แต่ปีถัดไปจากปีหน้าจะขึ้นมาเป็น 9% ? แบบนี้ เป็นต้น จึงทำให้เกิดคำถามอยู่เสมอว่าตกลงแล้ว ภาษีมูลค่าเพิ่มลดลงจาก 7% เหลือ 6.3% ใช่หรือไม่ ?
858 ผู้เข้าชม
โค้งสุดท้ายก่อนเข้าเส้นชัย (ของนักบัญชี)
โค้งสุดท้ายก่อนเข้าเส้นชัย (ของนักบัญชี)
เข้าสู่ไตรมาสสุดท้ายของปี นับเป็นโค้งสุดท้ายของการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องของผู้ทำบัญชี และถือได้ว่าเป็นช่วงที่ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชีเข้ารับการอบรมสัมมนาเพื่อเก็บชั่วโมงมากที่สุดของปี นับเป็นโค้งสุดท้ายของการเรียนรู้ให้ครบถ้วนนั่นเองครับ สำหรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ ต้องศึกษาและปฏิบัติข้อกำหนดของกฎหมายอย่างเคร่งครัด MR.CPD จึงอยากทบทวนเนื้อหาสำคัญของการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทั้งผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชีดังนี้
1124 ผู้เข้าชม
ช่วงเวลานำส่งงบการเงินของนิติบุคคล
ช่วงเวลานำส่งงบการเงินของนิติบุคคล
ทุกรอบปีนักบัญชีจะต้องวุ่นอยู่กับการปิดงบการเงิน และนำส่งงบการเงินให้ทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และนิติบุคคลแต่ละประเภทก็จะต้องนำส่งงบการเงิน สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น สำเนารายงานประจำปี และสำเนารายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ภายในระยะเวลาที่แตกต่างกันตามกำหนด จะเป็นช่วงใดบ้างนั้น มาทบทวนกันดีกว่าครับ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ทั้งสามกลุ่มนี้ต้องนำส่งงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ และแสดงความเห็นแล้วต่อนายทะเบียนภายใน 5 เดือนนับแต่วันปิดบัญชี
903 ผู้เข้าชม
มีอะไรในงบการเงิน
มีอะไรในงบการเงิน
เมื่อพูดถึง “งบการเงิน” หลายคนคงนึกถึงตัวเลขเป็นอันดับแรก บางคนอาจคิดว่าเป็นข้อมูลที่ซับซ้อน ยากต่อการทำความเข้าใจ และอาจมองข้ามข้อมูลเหล่านี้ไป อันที่จริง หากศึกษาข้อมูลจากงบการเงินกันอย่างจริงจังแล้ว คุณจะได้ประโยชน์จากข้อมูลในงบการเงินเพื่อประกอบการตัดสินใจลงทุนได้ไม่น้อยทีเดียว
7913 ผู้เข้าชม
งบการเงิน อ่านเองได้ (2) ตอน อัตราส่วนทางการเงิน
งบการเงิน อ่านเองได้ (2) ตอน อัตราส่วนทางการเงิน
‘งบการเงิน’ เป็นเรื่องน่าปวดหัวของนักลงทุนมือใหม่ ยิ่งจะหาคำตอบว่า งบการเงินบริษัทไหนดีกว่ากันก็ยิ่งแล้วใหญ่ เพราะเราไม่รู้ว่าควรจะหยิบผลกำไร ยอดขาย หรือมูลค่าสินทรัพย์รวม นำมาเปรียบเทียบ นักการเงินจะใช้เครื่องมืออย่างอัตราส่วนทางการเงิน ที่คำนวณจากการจับสองบรรทัดมาหารกันเพื่อแปลงตัวเลขเป็นค่ามาตรฐาน คล้ายกับการคำนวณดัชนีมวลกาย หรือค่า BMI ที่เราคุ้นเคยกันดี โดยอัตราส่วนทางการเงินสามารถแบ่งได้กว้างๆ เป็นสี่ด้านคือ อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนเพื่อวัดประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ อัตราส่วนการวัดภาระหนี้สิน และอัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร
2307 ผู้เข้าชม
287346 ผู้เข้าชม
«
1
...
120
121
122
123
124
125
...
164
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1146
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1111
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com