BLOG myAccount Cloud

BLOG myAccount Cloud

1646 รายการ
การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต 1. เป็นวิธีการรวบรวมและสะสมต้นทุนการผลิตของกิจการที่มีการผลิตต่อเนื่องกันไป มักใช้ในกิจการที่ผลิตสินค้าจำนวนมาก 2. การคำนวณต้นทุนต่อหน่วยของสินค้าในงวดบัญชี จะใช้วิธีการถัวเฉลี่ยความสำเร็จของงานให้อยู่ในรูปของหน่วยเทียบสำเร็จรูป (Equivalent Units) เสียก่อน เนื่องจากลักษณะของการผลิตมีความต่อเนื่องกันไปตลอด 3. มีการจัดทำรายงานต้นทุนการผลิต แยกตามแผนกผลิต (โดยปกตินิยมรวบรวมต้นทุนตามงวดเวลา 1 เดือน)
43921 ผู้เข้าชม
บัญชีการเงิน และบัญชีเพื่อการจัดการ (Financial Accouting and Management Accounting) จากจำนวนผู้ใช้งานสารสนเทศทางการบัญชีจำนวนมาก สามารถที่จะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้ที่เป็นบุคคลภายใน และผู้ใช้ที่เป็นบุคคลภายนอก โดยจะจัดแบ่งกาบัญชีออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่การบัญชีการเงิน และการบัญชีเพื่อการจัดการ บัญชีการเงิน (Financial Accounting) เป็นบัญชีที่มีการจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศให้แก่ผู้บริหาร และบุคคลภายนอกองค์กร เช่น นักลงทุน ผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ หน่วยงานรัฐบาล เช่น กรมสรรพากร กรมทะเบียนธุรกิจและการค้า ซึ่งบัญชีการเงินนี้จะต้องปฎิบัติตามมาตรฐานการบัญชีและหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ต้องมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ
2668 ผู้เข้าชม
makro กับ micro การบัญชีแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ makro กับ micro Mackro แบ่งเป็น 5 ระบบบัญชี 1.ระบบบัญชีรายได้ประชาชาติ จะต้องคิดหา GDP รายได้ประชาติต่อหัว จะพูดถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศ 2.ระบบปัจจัยการผลิตและผลผลิต Input กับ Output เป็นระบบบัญชีหมุนเวียนภาวะเศรษฐกิจในแต่ละ sector ซึ่งประเทศไทยเราทำประมาณ 180 sector มันจะบอกว่าถ้าอุตสาหกรรม sector ที่ 1 ผลิตข้าว เปลี่ยน 1 % sector ที่ 180 ผลิตรถยนต์จะเปลี่ยนกี่เปอร์เซ็นต์ มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่าง sector 3.ระบบเงินหมุนเวียนภายในประเทศ โดยจะบอกว่าในแต่ละ sector มีเงินหมุนเวียนอยู่เท่าไหร่ 4.ระบบบัญชีเงินดุลสะพัดแห่งชาติ พูดถึงตัวเงินเหมือนกันแต่แทนที่จะหมุนเวียนในประเทศกลับไปหมุนเวียนกับต่างประเทศ บัญชีดุลสะพัดประกอบไปด้วย ดุลการค้า และดุลบริการ
2225 ผู้เข้าชม
การวิจัยกับการการวิเคราะห์งบการเงิน การที่เราเห็นการเปลี่ยนแปลงในอดีต ทำให้สามารถพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ ทฤษฎีทางการบัญชีแบ่งเป็น 3 ยุค 1. Classical approach งานวิจัยตั้งแต่ช่วงต้น ๆ จนถึงปี 1960s ( 1960-1969) Mid กลางปีคือ 1965 พยามพัฒนาหาว่างบการเงินหรือการบัญชีควรจะแสดงข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสม 2. Market – based accounting research - มีการหา empirical Test มากขึ้น (การทดสอบเชิงประจักษ์จากข้อมูล) จะมุ่งเน้นไปที่ปฏิกิริยาทางการตลาดที่มีต่อข้อมูลทางการบัญชีที่รายงานออกไป - จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกำไรทางการบัญชีกับผลตอบแทนของตลาด( Market Return)ซึ่งอยู่ในบทบาทของข้อมูลทางการบัญชี
3722 ผู้เข้าชม
สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้บ้านเราอาจจะงงกับคำย่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น MLR หรือ MRR (ซึ่งจริงๆ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลกเพราะในต่างประเทศก็มีคำย่อหลากหลายประมาณนี้เหมือนกัน เช่น LIBOR หรือ SIBOR) วันนี้ CheckRaka.com จะพามาดูกันค่ะว่า แต่ละ Rate คืออะไร เป็นอย่างไร
4612 ผู้เข้าชม
ปัจจัยที่ช่วยอำนวยความสะดวก ทำให้การดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคมมีความสมบูรณ์พร้อม ก็คือ “เงิน” เพราะตามความหมายทางเศรษฐศาสตร์ เงินหมายถึง สิ่งที่สังคมยอมรับสำหรับใช้เป็นสื่อกลางในแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ใช้ในการชำระหนี้หรืออื่นๆตามต้องการ และมีมูลค่าค่อนข้างคงที่
79385 ผู้เข้าชม
“ภาษี” คือเงินที่รัฐบาลเรียกเก็บจากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล เพื่อนำรายได้ส่วนนี้ไปเป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ การเสียภาษีจึงเป็นหน้าที่ของประชาชนที่ต้องพึงปฏิบัติในฐานะพลเมืองของประเทศ
34145 ผู้เข้าชม
ต้นทุนของสินทรัพย์ประกอบด้วย 1. ราคาซื้อ(ตามใบ Invoices) 2. ภาษีขาย(Sale TAX) 3. ค่าขนย้ายกับค่าประกัน 4. ค่าติดตั้ง ประเด็นโต้แย้งของหลักการในการรับรู้ต้นทุนของสิทรัพย์ระยะยาว 1. ต้นทุนบางอย่างที่เกิดจากการได้มาซึ่งสินทรัพย์นั้นควรนำมารวมเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ด้วยหรือไม่ เช่น ต้นทุนดอกเบี้ยของงานระหว่างก่อสร้าง 2. ค่าใช้จ่าย R&Dและต้นทุนในการพัฒนา Software ควรนำมาCapเป็นสินทรัพย์หรือไม่ 3. ควรใช้วิธการบัญชีเกี่ยวกับการกำหนดมูลค่าของต้นทุนของการได้มาซึ่งน้ำมันและแก๊สเป็นสินทัพนย์อย่างไร
3837 ผู้เข้าชม
สำหรับอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินต่างๆ แบ่งออกเป็นหลายประเภท นอกจากนั้น แบงก์ชาติก็ไม่ได้มีการบังคับใช้อัตราดอกเบี้ยตามประเภทที่ได้กำหนดไว้เท่านั้น แต่อาจมีอัตราดอกเบี้ยอื่นๆ ตามที่สถาบันการเงินแต่ละแห่งกำหนดขึ้น โดยอัตราดอกเบี้ยเหล่านั้นต้องมีการประกาศไว้อย่างชัดเจนที่สำนักงานใหญ่และสาขาของแต่ละธนาคาร และเมื่อกล่าวถึงอัตราดอกเบี้ยหรือมีการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน เรามักจะได้ยินคำว่า MRR บ่อยที่สุด
3488 ผู้เข้าชม
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน งบการเงินจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ก็ต่อเมื่องบการเงินนั้นมีลักษณะเชิงคุณภาพตามที่แม่บทการบัญชีกำหนดไว้ ลักษณะเชิงคุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติที่ทำให้ข้อมูลในงบการเงินมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงิน ซึ่งประกอบด้วย 1) ความเข้าใจได้ (Understandability) 2) ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance) ความมีนัยสำคัญ (Materiality) 3) ความเชื่อถือได้ (Reliability) การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Faithful Presentation) เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ (Substance Over Form) ความเป็นกลาง (neutrality) ความระมัดระวัง (Prudence) ความครบถ้วน (Completeness)
109109 ผู้เข้าชม
299217 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์