รายการบทความที่ค้นหา

รายการบทความที่ค้นหา

2277 รายการ
รัฐบาลในปัจจุบันมีหน้าที่หลายประการในการทำให้ประชาชนอยู่ดีมีสุขนอกจากหน้าที่ในการรักษาความสงบภายในประเทศ และป้องกันประเทศจากการรุกรานของข้าศึกศัตรูแล้ว ยังมีหน้าที่ในด้านการจัดการดูแลและส่งเสริมการสาธารณสุขการศึกษา การเกษตร การอุตสาหกรรม การสื่อสาร การพลังงาน และการพาณิชย์อื่นๆ อีกด้วย
64404 ผู้เข้าชม
สินทรัพย์(Asset) หมายถึง สิ่งที่มีมูลค่าในการแลกเปลี่ยน ที่ผู้ถือครองสามารถนำไปขายเพื่อรับเงิน หรือ แลกเปลี่ยนเป็นสินค้าหรือบริการอื่นๆได้ สินทรัพย์ทางการเงิน(Financial Asset) จัดเป็นสินทรัพย์ประเภทหนึ่ง แต่เป็น “สินทรัพย์ไม่มีตัวตน” และยังมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากสินทรัพย์อื่นๆ คือ ลักษณะทางกายภาพ หรือ รูปแบบของสินทรัพย์ไม่ได้เป็นปัจจัยกำหนดมูลค่า สินทรัพย์ทางการเงินมักอยู่ในรูปของเอกสารสัญญาต่างๆ มูลค่าของสินทรัพย์ทางการเงินจะขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดหรือผลตอบแทนที่สินทรัพย์ทางการเงินนั้นจะมอบให้แก่ผู้เป็นเจ้าของในอนาคต และระดับความเสี่ยงของตราสารทางการเงินนั้น
32827 ผู้เข้าชม
งบการเงินช่วยบอกให้รู้ว่าผลประกอบการบริษัทที่เราสนใจดีหรือไม่ดีอย่างไร ควรถือยาวหรือไม่ หรือเล่นสั้นตีหัวเข้าบ้านไป หรือโชคร้ายอาจโดนเจ้ามือตีหัวแทน ถ้าผลประกอบการในอนาคตดีราคาหุ้นยังไงก็ต้องวิ่งโอกาสขาดทุนน้อย โดย 5 จุดสำคัญที่ควรดู
996 ผู้เข้าชม
วิธีวิเคราะห์ว่าบริษัทจะเจ้งหรือไม่ ลงทุนหุ้น turnaround ให้รวยขั้นแรกต้องมั่นใจก่อนว่าบริษัทที่จะลงทุนต้องไม่เจ้งไปซะก่อน เรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งคือเรื่องหนี้สินไม่ว่าธุรกิจคุณจะเป็นเช่นไรยังไงก็ต้องจ่ายหนี้ การใช้อัตราส่วนการวิเคราะห์ความอยู่รอด
1505 ผู้เข้าชม
ในปัจจุบันคำว่า “มาตรฐานการรายงานทางการเงิน” (TFRS) เป็นคำที่เรียกกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาชีพบัญชีรวมถึงบริษัทจดทะเบียนและไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งหลายท่านคงมีคำถามในใจว่า TFRS คืออะไรมีความสำคัญอย่างไร จัดทำโดยใคร และจัดทำอย่าง ดังนั้น สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี ซึ่งมีการกำหนดพันธกิจอย่างชัดเจนในการพัฒนามาตรฐานสำหรับการประกอบวิชาชีพบัญชีสู่ระดับสากลจึงได้มีการปรับปรุงและเผยแพร่กระบวนการจัดทำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Due process) เพื่อสื่อสารให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) ทุกภาคส่วน สามารถเข้าใจและนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (“มาตรฐานฯ”) ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และช่วยให้เกิดความโปร่งใสและรับฟังความคิดเห็นอย่างทั่วถึง
7439 ผู้เข้าชม
ใบกำกับภาษีซื้อและใบกำกับภาษีขายควรแยกเข้าแฟ้ม การจัดทำใบสำคัญจ่ายและการจัดทำใบสำคัญรับ เอกสารแนบท้ายควรเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบวางบิล ใบแจ้งหนี้ อะไรก็ว่าไป แต่ไม่ควรนำต้นฉบับใบกำกับภาษีซื้อหรือสำเนาใบกำกับภาษีขายไปรวมอยู่ด้วย ต้นฉบับใบกำกับภาษีซื้อและสำเนาใบกำกับภาษีขายควรแยกเข้าแฟ้มสมุดรายวันซื้อและสมุดรายวันขาย หากจำเป็นต้องแนบท้ายใบสำคัญให้ใช้สำเนาครับ เพราะต้นฉบับต้องนำไปลงสมุดรายวันขั้นต้น ใครที่บ้าเอกสารรู้แล้วทำให้ถูกต้องนะครับ
1884 ผู้เข้าชม
เพื่อให้เข้าใจ เกี่ยวกับ การบัญชี เบื้องต้น ให้เข้าใจง่ายขึ้น เราจะมาเริ่มต้นกันที่การรู้จักสมการบัญชี ซึ่งสมการบัญชีคือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ
26830 ผู้เข้าชม
ในการทำธุรกิจ สิ่งที่สำคัญที่สุดเหนือกว่าความอยากทำทั้งปวงคือการที่ธุรกิจประสบผลกำไร หรือพูดง่ายๆ ว่าไม่ขาดทุน และได้มากกว่าที่ลงทุนไป ปัญหาคือในการเริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ๆนั้น ถ้ายังมีประสบการณ์ไม่มาก ผู้ประกอบการมักคาดการณ์ได้ลำบากว่า ธุรกิจที่ตนเองทำจะคุ้มทุนหรือไม่ และคืนทุนเมื่อไร กล่าวคือ ไม่ทราบว่าจะคิดคำนวณจุดคุ้มทุนออกมาอย่างไร และการใช้ความรู้สึกในการตอบคำถามนี้ ก็ไม่ได้ช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นสักเท่าไร ดังนั้นการทำให้ออกมาเป็นตัวเลขจะช่วยให้การตัดสินใจง่ายขึ้นเยอะ
53655 ผู้เข้าชม
มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IAS) เป็นชุดมาตรฐานเก่าที่ระบุว่าธุรกรรมประเภทใดและเหตุการณ์อื่น ๆ ควรมีการสะท้อนในงบการเงินอย่างไร
34077 ผู้เข้าชม
สำหรับบทความนี้เป็นผลมาจากการที่ได้ยิน และได้พบเจอพูดคุยกับนักบัญชีหลายท่านที่เกิดความสับสน กับแนวปฏิบัติ “มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด” ซึ่งประเด็นของมาตรฐานนี้ถือเป็นตัวช่วยที่สำคัญ และทำให้เกิดประโยชน์ต่อการนำข้อมูลในงบการเงินไปใช้ เพื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมากับปีที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ยังจะนำไปสู่การจัดทำงบการเงินที่มีความถูกต้องอีกด้วย ทั้งนี้ก่อนจะหยิบยกตัวอย่างให้ได้ศึกษากัน ลองทำความเข้าใจคำศัพท์แต่ละตัวก่อนนะครับ
1158 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์