รายการบทความที่ค้นหา

รายการบทความที่ค้นหา

2282 รายการ
ผู้สอบบัญชีภาษีอากร ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้สอบบัญชีตลาดทุน ทั้ง 3 ประเภทของผู้สอบบัญชีนี้เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ หลายคนอาจจะเคยสงสัยหรือสับสนว่า จะเลือกผู้สอบบัญชีเพื่อรับรองงบการเงินประจำปีของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลประเภทไหนดี? เพราะผู้สอบบัญชีที่สามารถรับรองงบการเงินบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้มีหลายแบบ ดังนั้นเรามาทำความรู้จักประเภทของผู้สอบบัญชีที่สามารถให้บริการได้ มีดังนี้
2587 ผู้เข้าชม
บัญชีต้นทุน(Cost accounting) มีความแตกต่างกับบัญชีการเงิน (Financial accounting) ในรูปแบบของการใช้งานแต่ทั้งสองบัญชีจะถูกจัดทำขึ้นจากสมุห์บัญชี หรือนักบัญชีที่มีความรู้เรื่องบัญชีต้นทุน เพื่อนำไปเป็นบัญชีบริหาร (Managerial accounting) โดยทั่วไปบัญชีต้นทุนจะถูกจัดทำขึ้นในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมการผลิตเพราะมีความจำเป็นที่ต้องแยกแยะต้นทุนให้ชัดเจนมากกว่าธุรกิจประเภทอื่น แต่สำหรับธุรกิจขนาดใหญ่เกือบจะทุกประเภทจะมีการจัดทำบัญชีต้นทุนเพื่อใช้ในการบริหารโดยให้ความสำคัญเท่ากับบัญชีการเงินที่เป็นบัญชีในการจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอให้กับบุคคลภายนอกด้วย
10387 ผู้เข้าชม
การวิเคราะห์ทางการเงินเป็นขั้นตอนของธุรกิจการประเมินงบประมาณโครงการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเงินอื่น ๆ เพื่อตรวจสอบความมั่นคงของพวกเขาในการทำกำไรและมีศักยภาพสำหรับการลงทุน ปริญญาโทในการวิเคราะห์ทางการเงินเป็นโปรแกรมปริญญาเอกในวงกว้างที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ที่มีคุณค่าและทักษะที่เกี่ยวข้องกับการเงิน
1504 ผู้เข้าชม
อะไรก็ตามที่มากหรือน้อยเกินไปไม่ใช่เรื่องที่ดี เงินก็เช่นกัน.. การที่ “เงินเฟ้อ” เกินไปเศรษฐกิจก็จะชะงักได้และถ้าเงินเฟ้อน้อยหรือไม่มีเลยก็ทำให้เกิดเงินฝืด
1310 ผู้เข้าชม
รายงานการเงินเป็นเครื่องมือที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินตามวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันของผู้ใช้ ดังนั้น จึงอาจจำแนกการบัญชีตามวัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูลได้เป็น 2 ลักษณะคือ การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) และการบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting)
14226 ผู้เข้าชม
ธนาคารเป็นสถาบันการเงินระดับสูงของประเทศที่มีอำนาจและหน้าที่ควบคุมและดูแลการเงินและเครดิต ให้มีความเหมาะสมต่อความจำเริญทางเศรษฐกิจ และความมีเสถียรภาพทางการเงินของประเทศ
21137 ผู้เข้าชม
เพื่อให้การจัดทำรายงานทางการเงินของประเทศไทยสอดคล้องกับกลุ่มประเทศใน AEC และเพื่อให้รายงานทางการเงินของกิจการในประเทศไทยมีความเป็นสากล ตลอดจนเปรียบเทียบกันได้ อันจะเป็นการส่งเสริมให้กิจการในประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันมากยิ่งขึ้น คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาเกณฑ์ที่เหมาะสมในการจัดประเภทกิจการ เพื่อประกอบการพิจารณาการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการขนาดกลาง และขนาดย่อม (IFRS for SMEs) ซึ่งจัดทำโดยคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IASB) มาถือปฏิบัติในประเทศไทย โดยแนวทางในเบื้องต้นได้พิจารณาการจัดทำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการจัดประเภทของกิจการในประเทศไทยออกเป็น 3 ระดับชั้น (3-Tier Financial Reporting) ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณากำหนดหลักการที่เหมาะสมรวมทั้งเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งประเภทกิจการในประเทศไทยตามประเภทของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช้ ได้แก่
2043 ผู้เข้าชม
หากส่งงบการเงินล่าช้า ใครบ้างจะต้องจ่ายค่าปรับ เรารวมอัตราค่าปรับการส่งงบการเงินล่าช้ามาให้ทราบแล้ว หลังจากที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ได้ออกประกาศขยายระยะเวลาการยื่นงบการเงิน พ.ศ.2561 โดยเปิดขยายระยะเวลาไปเป็นวันที่ 7 มิถุนายน 2561 สำหรับผู้ที่ดำเนินการยื่นงบการเงินเรียบร้อยแล้ว แต่ยังมีบางส่วนที่ยังไม่ได้ส่งงบการเงินหรือไม่สามารถส่งงบการเงินได้ทันเวลา วันนี้เรามีอัตราค่าปรับการส่งงบการเงินล่าช้ามาให้ดูเพื่อจะได้เตรียมพร้อมหากต้องการจ่ายค่าปรับครับ
1490 ผู้เข้าชม
หากเราต้องการมี “อิสรภาพทางการเงิน” จะมีวิธีคิด วิธีคำนวณแบบง่ายๆ คือ แค่ทำบัญชีค่าใช้จ่ายต่อเดือนสรุปมาเป็นปี แล้วนำไปคูณด้วยจำนวนปีคิดว่าจะอยู่ถึง แต่สิ่งที่สำคัญ คือ อย่าลืมคูณเงินเฟ้อเผื่อไว้ด้วย
3044 ผู้เข้าชม
สถาบันการเงินสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ธนาคาร และสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร
16395 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์