BLOG myAccount Cloud

BLOG myAccount Cloud

1639 Items
หากคนที่มีครอบครัวก็ควรต้องทำ “บัญชีครัวเรือนหรือบัญรายรับรายจ่าย” อย่างยิ่ง เพราะ จะทำให้เห็นภาพรวมทุกเดือนว่า เงินของครอบครัวนั้น ออกไปทางไหนบ้าง ซึ่งหากตรงไหนมากเกินไปก็ปรับ หรือหากเงินไม่พอจริงๆ ก็ต้องรีบหาวิธีสร้างรายได้เพิ่ม
1130 Visitor
การวางแผนการเงินต้องจัดการตั้งแต่ฐานรากที่มั่นคงก่อนคือ การบริหารรายรับรายจ่าย การจัดการหนี้สิน การจัดการความเสี่ยง เรียงต่อไปเป็นการจัดการเรื่องการออมเพื่อเกษียณ แล้วมีเงินเหลือก็ไปลงทุน แล้วสุดท้ายคือการจัดการส่งมอบทรัพย์สินให้กับทายาทรุ่นต่อไปตามที่ต้องการ
1288 Visitor
เมื่อเปิดงบการเงินของแทบทุกบริษัท เรามักพบรายการ “เจ้าหนี้การค้า” และ “ลูกหนี้การค้า” จนชินตา บางคนอาจมองข้ามไปด้วยซ้ำ เพราะเห็นเป็นเรื่องธรรมดา บริษัทไหนๆ ก็มี ในการกู้ยืมทุกประเภท เงินจะถูกส่งผ่านจาก “เจ้าหนี้” ไปสู่ “ลูกหนี้” ซึ่งทุกคนต่างก็ทราบดี แต่สำหรับ “หนี้การค้า” นั้น มีความแตกต่างออกไป
9252 Visitor
การจัดทำบัญชีนั้นนับว่าเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการประกอบธุรกิจที่ผู้ประกอบการทุกรายนั้นต้องมีการจัดทำบัญชี เนื่องจากการบัญชีนั้นมีประโยชน์และสำคัญเป็นอย่างมากสำหรับธุรกิจทุกประเภท กล่าวคือ บัญชีนั้นเป็นเครื่องมือวัดความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ การทำบัญชีจะทำให้กิจการทราบผลการดำเนินงาน ฐานะทางการเงินของธุรกิจ และความมั่นคงของธุรกิจ โดยในการจัดทำบัญชีจะบันทึกบัญชีรายการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการดำเนินธุรกิจ เช่น การลงทุน รายรับและรายจ่าย ที่เป็นของกิจการนั้น โดยไม่นำส่วนที่เป็นของส่วนตัว (ส่วนของเจ้าของ) เข้ามาบันทึกด้วย เมื่อมีการบันทึกรายการต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้ว ข้อมูลที่ได้บันทึกไว้นั้น จะสามารถนำมาจัดทำเป็นรายงานทางการเงินได้ เช่น งบดุล และงบกำไรขาดทุน ซึ่งเป็นภาพสะท้อนในการดำเนินธุรกิจ ดังนี้ คือ
1414 Visitor
เอกสารรับเงิน จ่ายเงินเป็นเอกสารที่มีความสำคัญต่อการทำบัญชีอยู่ไม่น้อย เพราะฝ่ายบัญชีจะต้องนำไปใช้เป็นหลักฐานในการลงบัญชี หรือยื่นกับกรมสรรพากรในอนาคต สำหรับนักบัญชีมือใหม่หรือบุคคลทั่วไปอาจจะยังไม่มั่นใจว่าเอกสารรับ และจ่ายเงินนั้นคืออะไร เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาต่อจากนี้เราก็มาดูว่าเอกสารรับเงิน จ่ายเงินคืออะไร และเหตุใดทำไมเราจะต้องออกเอกสารรับ และจ่ายเงิน
2032 Visitor
บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ (Material Flow Cost Accounting: MFCA) เป็นหนึ่งในเครื่องมือทางด้านการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดยจะช่วยในการลดผลการทบต่อสิ่งแวดล้อม และการจัดการใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการปล่อยของเสีย (Waste) และ non-Product ด้วย กล่าวคือ MFCA ช่วยแสดงการส่งถ่ายและการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของวัตถุดิบที่ผ่านขั้นตอนหรือกระบวนการ และบ่งชี้หรือกระตุ้นให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงพัฒนาการใช้วัตถุดิบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และช่วยลดของเสียอันเป็นการสอดคล้องกับแนวความคิดของ GP อีกทั้งเครื่องมือ MFCA ยังเป็นเครื่องมือในการจัดการที่สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพและกระตุ้นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของบริษัทด้วย
11946 Visitor
เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ที่มีอยู่ของกิจการ อัตราส่วนนี้เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบระหว่างยอดขายกับการลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ของกิจการ 1. อัตราการหมุนเวียนของสินค้า (Inventory Turnover) อัตราการหมุนเวียนของสินค้า = ต้นทุนขาย =…….ครั้ง สินค้าคงเหลือเฉลี่ย สินค้าคงเหลือเฉลี่ย = สินค้าคงเหลือต้นงวด + สินค้าคงเหลือปลายงวด 2 ผลลัพธ์จากการคำนวณอัตราการหมุนเวียนของสินค้าบอกให้ทราบว่าธุรกิจได้ขายสินค้าจนกระทั่งเก็บเงินได้มีจำนวนกี่ครั้ง ถ้าอัตราการหมุนเวียนของสินค้า มีจำนวนมากครั้ง แสดงถึงประสิทธิภาพด้านการขายอยู่ในเกณฑ์ดีและสินค้าเป็นที่ต้องการของตลาดทำให้ขายสินค้าได้เร็ว ระยะเวลาในการเก็บรักษาสินค้า (Average Day Inventory in Stock) ระยะเวลาในการเก็บรักษาสินค้า = จำนวนวันใน 1 ปี =……วัน อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ ผลลัพธ์บอกให้ทราบว่า การวิเคราะห์เงินทุนที่ได้ลงทุนในสินค้านั้นกว่าจะเปลี่ยนสภาพเป็นลูกหนี้หรือเงินสดใช้เวลากี่
16692 Visitor
อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratios) เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจ 1 อัตรากำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) เป็นอัตราส่วนที่แสดงว่าขาย 100 บาท ได้กำไรขั้นต้นเท่าไร อัตรากำไรขั้นต้น = กำไรขั้นต้น × 100 =……………..% ยอดขายสุทธิ
25012 Visitor
การรู้จักงบดุลต้องเริ่มจากสมการบัญชีที่สรุปง่ายๆ ในหนึ่งบรรทัดคือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของผู้ถือหุ้น ‘ดุล’ ในชื่องบการเงิน หมายถึงทั้งสองฝั่งจะต้องเท่ากันเสมอตามระบบบัญชีคู่ ถ้าแตกต่างกันเมื่อไร บอกได้เลยว่าพนักงานบัญชีเป็นอันไม่ได้หลับได้นอน ต้องหาสาเหตุให้เจอก่อนวันปิดงบการเงิน
6698 Visitor
งบกำไรขาดทุนถือว่ามีความซับซ้อนน้อยกว่างบดุลอย่างเห็นได้ชัด คือเริ่มจากรายได้ แล้วหักค่าใช้จ่าย สุดท้ายก็ได้เป็นผลประกอบการซึ่งมีทั้งผลกำไรและผลขาดทุน แต่สิ่งที่ผู้เขียนอยากหยิบมาบอกเล่าคือเหตุผลเบื้องหลังที่ว่าทำไมนักบัญชีถึงแยกรายได้และค่าใช้จ่ายออกเป็นประเภทยิบย่อยเต็มไปหมด
1637 Visitor
287278 Visitor
Get started for free today. Free Trial
Create a website for free Online Stores