BLOG myAccount Cloud

BLOG myAccount Cloud

1645 Items
เอกสารรับเงิน จ่ายเงินเป็นเอกสารที่มีความสำคัญต่อการทำบัญชีอยู่ไม่น้อย เพราะฝ่ายบัญชีจะต้องนำไปใช้เป็นหลักฐานในการลงบัญชี หรือยื่นกับกรมสรรพากรในอนาคต สำหรับนักบัญชีมือใหม่หรือบุคคลทั่วไปอาจจะยังไม่มั่นใจว่าเอกสารรับ และจ่ายเงินนั้นคืออะไร เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาต่อจากนี้เราก็มาดูว่าเอกสารรับเงิน จ่ายเงินคืออะไร และเหตุใดทำไมเราจะต้องออกเอกสารรับ และจ่ายเงิน
2212 Visitor
บัญชีต้นทุนการไหลวัสดุ (Material Flow Cost Accounting: MFCA) เป็นหนึ่งในเครื่องมือทางด้านการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดยจะช่วยในการลดผลการทบต่อสิ่งแวดล้อม และการจัดการใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการปล่อยของเสีย (Waste) และ non-Product ด้วย กล่าวคือ MFCA ช่วยแสดงการส่งถ่ายและการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของวัตถุดิบที่ผ่านขั้นตอนหรือกระบวนการ และบ่งชี้หรือกระตุ้นให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงพัฒนาการใช้วัตถุดิบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และช่วยลดของเสียอันเป็นการสอดคล้องกับแนวความคิดของ GP อีกทั้งเครื่องมือ MFCA ยังเป็นเครื่องมือในการจัดการที่สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพและกระตุ้นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของบริษัทด้วย
12260 Visitor
เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดประสิทธิภาพในการใช้สินทรัพย์ที่มีอยู่ของกิจการ อัตราส่วนนี้เกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบระหว่างยอดขายกับการลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ของกิจการ 1. อัตราการหมุนเวียนของสินค้า (Inventory Turnover) อัตราการหมุนเวียนของสินค้า = ต้นทุนขาย =…….ครั้ง สินค้าคงเหลือเฉลี่ย สินค้าคงเหลือเฉลี่ย = สินค้าคงเหลือต้นงวด + สินค้าคงเหลือปลายงวด 2 ผลลัพธ์จากการคำนวณอัตราการหมุนเวียนของสินค้าบอกให้ทราบว่าธุรกิจได้ขายสินค้าจนกระทั่งเก็บเงินได้มีจำนวนกี่ครั้ง ถ้าอัตราการหมุนเวียนของสินค้า มีจำนวนมากครั้ง แสดงถึงประสิทธิภาพด้านการขายอยู่ในเกณฑ์ดีและสินค้าเป็นที่ต้องการของตลาดทำให้ขายสินค้าได้เร็ว ระยะเวลาในการเก็บรักษาสินค้า (Average Day Inventory in Stock) ระยะเวลาในการเก็บรักษาสินค้า = จำนวนวันใน 1 ปี =……วัน อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ ผลลัพธ์บอกให้ทราบว่า การวิเคราะห์เงินทุนที่ได้ลงทุนในสินค้านั้นกว่าจะเปลี่ยนสภาพเป็นลูกหนี้หรือเงินสดใช้เวลากี่
17449 Visitor
อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratios) เป็นอัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจ 1 อัตรากำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin) เป็นอัตราส่วนที่แสดงว่าขาย 100 บาท ได้กำไรขั้นต้นเท่าไร อัตรากำไรขั้นต้น = กำไรขั้นต้น × 100 =……………..% ยอดขายสุทธิ
26257 Visitor
การรู้จักงบดุลต้องเริ่มจากสมการบัญชีที่สรุปง่ายๆ ในหนึ่งบรรทัดคือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของผู้ถือหุ้น ‘ดุล’ ในชื่องบการเงิน หมายถึงทั้งสองฝั่งจะต้องเท่ากันเสมอตามระบบบัญชีคู่ ถ้าแตกต่างกันเมื่อไร บอกได้เลยว่าพนักงานบัญชีเป็นอันไม่ได้หลับได้นอน ต้องหาสาเหตุให้เจอก่อนวันปิดงบการเงิน
7215 Visitor
งบกำไรขาดทุนถือว่ามีความซับซ้อนน้อยกว่างบดุลอย่างเห็นได้ชัด คือเริ่มจากรายได้ แล้วหักค่าใช้จ่าย สุดท้ายก็ได้เป็นผลประกอบการซึ่งมีทั้งผลกำไรและผลขาดทุน แต่สิ่งที่ผู้เขียนอยากหยิบมาบอกเล่าคือเหตุผลเบื้องหลังที่ว่าทำไมนักบัญชีถึงแยกรายได้และค่าใช้จ่ายออกเป็นประเภทยิบย่อยเต็มไปหมด
1765 Visitor
งบการเงินที่สมบูรณ์ 5 ข้อ งบการเงินเป็นรายงานทางการเงิน ที่นำเสนอข้อมูลต่างๆ เพื่อแสดงฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการโดยถูกต้องตามที่ควรในแต่ละงวดบัญชีใดบัญชีหนึ่งหรือระหว่างงวดบัญชีก็ได้ งบแสดงการเงินจะแสดงข้อมูลอย่างถูกต้องก็ต่อเมื่อกิจการได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเมื่อจำเป็น งบการเงินจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจในเชิงเศรษฐกิจ และสามารถแสดงถึงผลการบริหารงานของฝ่ายบริหาร ซึ่งได้รับความไว้วางใจให้ดูแลทรัพยากรของกิจการนั้นๆ ต่อไปนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดของงบดังกล่าว
9076 Visitor
งานในวิชาชีพบัญชี (Careers in Accounting) งานในวิชาชีพบัญชีสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. งานบัญชีของธุรกิจ (Private Accounting) คือ งานบัญชีที่นักบัญชีที่รับทำให้แก่องค์การธุรกิจเอกชนทั่วไป โดยนักบัญชีมีฐานะเป็นพนักงานของกิจการนั้น ๆ ซึ่งตำแหน่งของนักบัญชีเหล่านี้ได้แก่ ผู้อำนวยการบัญชี สมุห์บัญชี พนักงานบัญชี เป็นต้น และลักษณะงานที่ทำได้แก่ การวางรูประบบบัญชี การบัญชีต้นทุน การพยากรณ์ทางการเงิน การตรวจสอบภายใน การบัญชีภาษีอากร การบัญชีเพื่อการบริหาร เป็นต้น
9055 Visitor
การแบ่งส่วนทางการบัญชี ในทางการบัญชีเราสามารถแบ่งระบบบัญชีออกได้เป็นสองส่วน คือ การบัญชีส่วนย่อย (Micro Accounting) และการบัญชีส่วนรวม (Macro Accounting)
2888 Visitor
แนวความคิดและหลักการบัญชี ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชีมีหลายฝ่ายไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารกิจการ เจ้าหนี้ นักลงทุน หน่วยงานของรัฐบาล หรืออื่น ๆ ซึ่งในบางครั้งบุคคลที่ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเหล่านี้มีความต้องการที่จะใช้ข้อมูลทางการบัญชีในทิศทางที่แตกต่างกัน เช่น ผู้บริหารต้องการแสดงผลการดำเนินงานที่มีกำไรน้อยกว่าความเป็นจริงหรือขาดทุน เพื่อที่จะได้เสียภาษีน้อยลง หรือไม่เสียภาษีเลย ในทางตรงกันข้ามกรมสรรพากรซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษีก็ต้องการให้แสดงข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อจะได้จัดเก็บภาษีได้อย่างถูกต้อง รัฐบาลจะได้นำเงินมาพัฒนาประเทศต่อไป
33431 Visitor
298944 Visitor
Get started for free today. Free Trial
Create a website for free Online Stores