BLOG myAccount Cloud

BLOG myAccount Cloud

1639 Items
นายจ้างที่มีสวัสดิการทำประกันภัยให้กับลูกจ้างพนักงานนั้น มักจะมีคำถามอยู่เสมอว่า เงินค่าประกันภัยดังกล่าวถือดเป็นเงินได้ของพนักงานที่ต้องนำมาคำนวนเพื่อการเสียภาษีบุคคลธรรมดาตอนปลายปีด้วยหรือไม่นั้น เราต้องทำการพิจารณาประเด็นต่างๆดังนี้ก่อน
781 Visitor
การวางแผนภาษีเกี่ยวกับสวัสดิการพนักงาน จะต้องเข้าใจเงื่อนไขและองค์ประกอบของความหมายของคำว่า สวัสดิการ ในมุ่งมองตามประมวลรัษฎากรเสียก่อน สวัสดิการที่นายจ้างมีให้กับพนักงานนั้น เพื่อให้ลูกจ้างมีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ในการทำงานดีขึ้น สะดวกสบายมากขึ้น แต่ต้องเป็นไปตามกฎหมายแรงงานจะถือเป็นหลักฐานทางภาษีอากร เพื่อใช้หักเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการได้ จะต้องมีองค์ประกอบครบ 3 ข้อดังต่อไปนี้
2403 Visitor
ค่าเบี้ยประกันชีวิต แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การประกันชีวิต และ การประกันวินาศภัย ค่าเบี้ยประกันชีวิต ผู้ประกอบการซึ่งเป็นนายจ้าง ได้จ่ายค่าเบี้ยประกันชีวิตให้แก่พนักงานโดยกรมธรรม์ได้กำหนดผู้รับผลประโยชน์เป็นพนักงาน ค่าเบี้ยประกันดังกล่าว ถือเป็นเงินได้ของพนักงาน ต้องนำมาคำนวณเงินได้ของพนักงานแต่ละคน และค่าเบี้ยประกันชีวิตที่ผู้ประกอบการจ่ายให้กับพนักงานเป็นการทั่วไป (ไม่เฉพาะเจาะจงคนใดคนหนึ่ง) ผู้ประกอบการสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้
772 Visitor
การหักลดหย่อนภาษีลูกกตัญญู เป็นการอนุญาตให้บุคคลธรรมดาที่มีรายได้ และมีการอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาของผู้มีเงินได้ รวมทั้งบิดามารดาของสามี หรือภรรยา ของผู้มีเงินได้ โดยให้หักค่าอุปการะเลี้ยงดูเป็นค่าใช้จ่ายได้คนละ 30,000 บาท โดยที่บิดามารดาดังกล่าว จะต้องมีอายุ 60 ปีขึ้นไป และมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ และอยู่ในความเลี้ยงดูของผู้มีเงินได้
3056 Visitor
บริษัท ยู. จำกัด ได้มีข้อกำหนดในการเข้าทำงานกับบริษัทฯ โดยให้พนักงานต้องมีหนังสือค้ำประกันจากธนาคาร หรือนำเงินสดมาฝากค้ำประกันการทำงานกับบริษัทฯ ตามจำนวนเงินที่บริษัทฯ กำหนด ซึ่งบริษัทฯ เห็นว่า เงินที่พนักงานนำมาค้ำประกัน พนักงานควรจะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากเงินประกันดังกล่าว บริษัทฯ จึงได้นำเงินดังกล่าวไปซื้อสลากออมสินหรือสลาก ธ.ก.ส. โดยซื้อในนามของบริษัทฯ และแยกสลากของพนักงานแต่ละคน เมื่อสลากของพนักงานแต่ละคนถูกรางวัล บริษัทฯ ก็จะนำเงินรางวัลนั้นมาจ่ายคืนให้กับพนักงานที่ถูกรางวัลทั้งจำนวน
1247 Visitor
ถ้าตอบกันโดยตรงตามประมวลรัษฎากร ก็เปิดช่องเอาไว้เหมือนกัน โดยที่ประมวลนั้นได้กล่าวไว้ว่า อาจกระทำได้ แต่ต้องมีเหตุอันสมควร ทีนี้เราก็ต้องมาดูว่าเหตุใดบ้างที่ถือว่าเป็นเหตุอันสมควร ปรากฎว่าไม่มีบอกไว้เป็นการชัดเจนว่า ที่ว่าเหตุสมควรน่ะคืออะไร ให้อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่
3695 Visitor
สวัสดีครับ หลังจากที่เราได้อธิบายถึงส่วนประกอบของงบดุลกันไปแล้ว วันนี้ถึงคิวของ งบกำไรขาดทุน กันบ้าง มาทบทวนกันสักหน่อยดีกว่าว่า งบกำไรขาดทุน คือะไร งบกำไรขาดทุน ก็คือ ส่วนที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของกิจการ ในระยะเวลา 1 งวดบัญชี ซึ่งในงบกำไรขาดทุนจะมีส่วนประกอบ คือ
1577 Visitor
งบกระแสเงินสด ( Cash Flow Statement ) คือ ส่วนที่แสดงถึงการได้มา หรือ ใช้ไปของเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดของกิจการ ในรอบระยะเวลาหนึ่ง อาจจะ 1 งวดบัญชี หรือ 1 ไตรมาส โดยสามารถแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
9957 Visitor
การวิเคราะห์โดยการจัดทำ งบการเงินฐานเดียวกัน (Common Size Statements) คือ การปรับรายการต่างๆในงบดุล และ งบกำไรขาดทุน ให้อยู่ในรูปร้อยละ โดยรายการในงบดุลจะถูกปรับให้อยู่ในรูปร้อยละต่อสินทรัพย์รวม และรายการในงบกำไรขาดทุนจะถูกปรับให้อยู่ในรูปร้อยละต่อยอดขายสุทธิ การปรับรายการต่างๆให้อยู่ในรูปของร้อยละ จะช่วยให้เราสามารถเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการที่มีขนาดแตกต่างกันได้โดยง่าย และสามารถวิเคราะห์แนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นกับกิจการได้ ถ้ายังไม่เห็นภาพ ลองไปดูตัวอย่างกันเลย
749 Visitor
ก่อนที่เราจะไปพูดถึงเรื่อง การวิเคราะห์สภาพคล่องภายในกิจการ (Internal Liquidity) หรือ อัตราส่วน สภาพคล่องภายใน (Internal Liquidity Ratio) เรามาทำความเข้าใจกับคำว่า “สภาพคล่อง” กันก่อน สภาพคล่อง คือ ความสามารถที่ทรัพย์สินใดๆจะเปลี่ยนเป็นเงินสด (แอบไปเปิดพจนานุกรมมาเลยนะ) ทรัพย์สินที่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ง่ายและรวดเร็ว ถือว่าเป็นทรัพย์สินที่มีสภาพคล่องสูง
2698 Visitor
287487 Visitor
Get started for free today. Free Trial
Create a website for free Online Stores