BLOG myAccount Cloud

BLOG myAccount Cloud

1646 Items
การจัดทำงบประมาณ และบัญชีการเงินสำหรับธุรกิจบริการ ทั้งระบบ ที่เข้าใจง่ายในทุกปี คณะกรรมการบริหารของบริษัท จะมีการประชุมประจำปี วาระหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือ การขออนุมัติงบประมาณประจำปี  ในการจัดทำงบประมาณจะประกอบด้วย
2193 Visitor
เมื่อเราตัดสินใจที่จะเริ่มศึกษาการลงทุนอย่างจริงจัง เราก็ควรเริ่มจากสิ่งที่เป็นพื้นฐานที่สุดที่จำเป็นต้องเรียนรู้กันก่อนเลย นั่นก็คือการอ่าน “งบการเงิน” นั่นเอง ว่าแต่ “งบการเงิน” มันคือะไรล่ะ
25736 Visitor
ในบทความนี้เราจะพูดถึงส่วนประกอบของ งบดุล (Balance Sheet) หรือ งบแสดงฐานะทางการเงิน ว่าใน งบดุล มีส่วนประกอบอะไรบ้าง และส่วนประกอบเหล่านั้นให้ข้อมูลอะไรกับเรา
1924 Visitor
จากบทความ งบดุล (Balance Sheet)(1) เราพูดถึงรายละเอียดของงบดุล ทั้งสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของไปแล้ว ในบทความนี้เราจะพูดถึงส่วนประกอบต่างๆของ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของกันบ้าง ว่ามีส่วนประกอบอะไรบ้าง
1904 Visitor
ในฐานะที่เราเป็นผู้ใช้งบการเงิน หนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์งบการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพก็คือ การวิเคราะห์ อัตราส่วนทางการเงิน นั่นเอง แล้ว อัตราส่วนทางการเงิน คืออะไรล่ะ มีกี่ประเภท หาได้จากที่ไหน และที่สำคัญคือ ใช้ยังไง เราจะได้รู้กันในบทความนี้เอง
1412 Visitor
การวิเคราะห์โดยการจัดทำ งบการเงินฐานเดียวกัน (Common Size Statements) คือ การปรับรายการต่างๆในงบดุล และ งบกำไรขาดทุน ให้อยู่ในรูปร้อยละ โดยรายการในงบดุลจะถูกปรับให้อยู่ในรูปร้อยละต่อสินทรัพย์รวม และรายการในงบกำไรขาดทุนจะถูกปรับให้อยู่ในรูปร้อยละต่อยอดขายสุทธิ การปรับรายการต่างๆให้อยู่ในรูปของร้อยละ จะช่วยให้เราสามารถเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการที่มีขนาดแตกต่างกันได้โดยง่าย และสามารถวิเคราะห์แนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นกับกิจการได้ ถ้ายังไม่เห็นภาพ ลองไปดูตัวอย่างกันเลย
10579 Visitor
"เศรษฐกิจภาคสหกรณ์ครึ่งปีแรกติดลบ 1.06% เหตุสมาชิกสหกรณ์ยังไม่มั่นใจสถานการณ์บ้านเมือง ระมัด ระวังการใช้จ่าย ลดการอุปโภค และบริโภค ออมเงินมากขึ้น ธุรกิจหด กำไรลด เชื่อว่าเศรษฐกิจครึ่งปีหลังน่าจะกลับมาฟื้นตัวได้อีกครั้งเฉลี่ยที่ 0.5-1.0%”
1233 Visitor
นับเป็นเวลาหลายปีแล้วที่ประเทศไทยนำระบบสหกรณ์มาใช้เป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งในการแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกร สหกรณ์จัดเป็นหน่วยเศรษฐกิจอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการบริหารและการดำเนินงานก็เหมือนธุรกิจอื่นๆ ทั่วไป จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันสหกรณ์ต้องแข่งขันกับธุรกิจอื่น ๆ มากมาย โดยมีเป้าหมายเช่นเดียวกับธุรกิจทั่วไปที่ต้องการให้สหกรณ์สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง ดังนั้นสหกรณ์จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงตัวเองเพื่อความอยู่รอด โดยสหกรณ์ต้องสามารถสร้างรายได้ให้คุ้มกับค่าใช้จ่าย เพื่อนำไปขยายธุรกิจให้เติบโตรวมทั้งผลตอบแทนที่คืนให้กับสมาชิก ซึ่งหมายถึงรายได้ที่เพียงพอครอบคลุมต้นทุนและค่าใช้จ่ายทั้งหมด และที่สำคัญกว่านั้นรายได้เหล่านั้นต้องครอบคลุมถึงผลตอบแทนที่สมาชิกต้องการ ในฐานะ ผู้ใช้บริการและผู้เป็นเจ้าของทุนด้วย ถ้าหากสหกรณ์ใดขาดวัฒนธรรมในการสร้างมูลค่า หรือขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการธุรกิจก็อาจจะนำไปสู่ปัญหาความมั่นคงของสหกรณ์ในอนาคตได้ และที่สำคัญในที่สุด จะทำให้สมาชิกตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องขาดความเชื่อมั่นในสหกรณ์ต่อไป
770 Visitor
ภาพรวมเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3 ของปี 2557 ปรับตัวดีขึ้นแม้ปริมาณธุรกิจโดยรวม 1.96 ล้านล้านบาท หดตัว 0.25 % เมื่อเทียบกับการหดตัวจากไตรมาสที่แล้ว สร้างรายได้และทำกำไร ทั่วประเทศกว่า 5.2 หมื่นล้านบาท สำหรับแนวโน้มเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยปี 2557 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.5-1.0 ”
791 Visitor
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทย ปี 2557 ช่วงแรกของปียังคงเจอกับสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังคงไม่ แน่นอน ต้นทุนการผลิตและค่าครองชีพปรับตัวสูง รวมทั้งราคาพืชผลการเกษตรอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ตลอดจนภัยทาง ธรรมชาติโดยเฉพาะสถานการณ์น้ำท่วมในหลายจังหวัดที่ส่งผลกระทบกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อเนื่องมา ใน ภาพรวมภาคสหกรณ์ไทยที่รวบรวมจากรายงานของผู้สอบบัญชีที่รับรองงบการเงินเสร็จเรียบร้อยแล้วจำนวน 10,831 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์จำนวน 6,762 แห่ง (ภาคเกษตร 3,733 แห่ง นอกภาคเกษตร 3,029 แห่ง) และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 4,069 แห่ง มีจำนวนสมาชิกรวมทั้งสิ้น 12.15 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ของประชากรทั้ง
858 Visitor
299038 Visitor
Get started for free today. Free Trial
Create a website for free Online Stores