TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
บัญชีโคตรง่าย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
บัญชีโคตรง่าย
1110 รายการ
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 2/2558 (22 ต.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 2/2558 (22 ต.ค. 2558)
เศรษฐกิจไทยช่วงไตรมาส 2/2558 จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสที่แล้ว เป็นผลมาจากการหดตัวต่อเนื่องของการผลิตในภาคเกษตรโดยเฉพาะหมวดพืชผล ขณะที่ภาคนอกเกษตรชะลอลง เนื่องจากสาขาอุตสาหกรรมที่หดตัวประกอบกับสาขาก่อสร้างชะลอลง ส่วนภาคบริการต่าง ๆ ขยายตัวเพิ่มขึ้น
685 ผู้เข้าชม
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2558 (14 ธ.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2558 (14 ธ.ค. 2558)
"เศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2558 ขยายตัวเล็กน้อยที่ 0.18% ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2/2558 มีมูลค่าธุรกิจโดยรวม 2.04 ล้านล้านบาท สร้างรายได้และทำกำไรทั่วประเทศรวมกว่า 6.8 หมื่นล้านบาท สมาชิกมีความระมัดระวังการใช้จ่าย มีอัตราการออมเงินเฉลี่ยใกล้เคียงกับอัตราหนี้สินเฉลี่ย สำหรับแนวโน้มเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยปี 2558 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้น”
729 ผู้เข้าชม
ผู้สอบบัญชีสหกรณ์มีบทบาทและหน้าที่ในการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตในสหกรณ์ได้อย่างไร (4 เม.ย. 2559)
ผู้สอบบัญชีสหกรณ์มีบทบาทและหน้าที่ในการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตในสหกรณ์ได้อย่างไร (4 เม.ย. 2559)
การทุจริต ประพฤติมิชอบมีโอกาสเกิดขึ้นทุกระดับในองค์กร ทั้งภาครัฐ และเอกชน ของทุก ๆ ประเทศ ยิ่งนับวันก็มีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ มีเทคนิคและวิธีการที่แยบยลในการปกปิด สร้างภาพลวงตา ดังปรากฏจากผลการสำรวจของ PwC ประเทศไทย (ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส) เผยผลสำรวจอาชญากรรมทางเศรษฐกิจในปี 2557 พบว่ามีบริษัทไทยที่ทำการสำรวจถึง 37 % ตกเป็นเหยื่อการทุจริต สำหรับประเภทของการทุจริตที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกของไทย ได้แก่ การยักยอกสินทรัพย์ (Asset misappropriation) 71 % ตามด้วย การทุจริตจัดซื้อ (Procurement fraud) 43 % ,การรับสินบนและคอรัปชั่น (Bribery and corruption) 39 % อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(Cyber crime) 18 % และการทุจริตทางบัญชี (Accounting fraud) 18 % การทุจริตในองค์กรส่วนใหญ่ เกิดขึ้นจากการกระทำผิดของพนักงานระดับผู้จัดการหรือผู้บริหารระดับกลาง มากที่สุด 56 % โดยเป็นไปในทิศทางเดียวกับภูมิภาคที่ 52 % ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการทุจริต บริษัทไทย 76 % เชื่อว่าขึ้นอยู่กับโอกาส(Opportunity) มากที่สุด ตามด้วยแรงจูงใจในการกระทำผิด (Incentive) 24 % ในขณะที่การใช้เหตุผลสนับสนุนเพื่อความชอบธรรมในการกระทำความผิดของตน (Rationalisation) ไม่มีผลต่อการกระทำความผิดตามทฤษฎีสามเหลี่ยมทุจริต (Fraud Triangle) ในแวดวงสหกรณ์ในช่วงเวลา 4 – 5 ปี ที่ผ่านมา ปัญหาการทุจริตของสหกรณ์ตกเป็นข่าวอยู่เป็นระยะ ๆ ตั้งแต่ ปัญหาการทุจริตเกี่ยวกับแชร์ล็อตเตอรี่ของสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนกระทั่งมาถึงปัญหาหนักสุดคือการทุจริตของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด ได้สร้างความเสียหายมีมูลค่ามากกว่าหนึ่งหมื่นล้านบาท ส่งผลกระทบต่อสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก ถึงแม้ในภาพรวมสหกรณ์ที่มีการทุจริตมีจำนวนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนทั้งหมด แต่ผลกระทบในเชิงลบทำให้เกิดกระแสความไม่เชื่อมั่นต่อระบบสหกรณ์ในประเทศไทยผู้สอบบัญชีสหกรณ์มีบทบาทและหน้าที่ในการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตในสหกรณ์ได้อย่างไร (4 เม.ย. 2559)
948 ผู้เข้าชม
การทำประกันภัยให้กับลูกจ้างถือเป็นเงินได้พนักงานหรือไม่
การทำประกันภัยให้กับลูกจ้างถือเป็นเงินได้พนักงานหรือไม่
นายจ้างที่มีสวัสดิการทำประกันภัยให้กับลูกจ้างพนักงานนั้น มักจะมีคำถามอยู่เสมอว่า เงินค่าประกันภัยดังกล่าวถือดเป็นเงินได้ของพนักงานที่ต้องนำมาคำนวนเพื่อการเสียภาษีบุคคลธรรมดาตอนปลายปีด้วยหรือไม่นั้น เราต้องทำการพิจารณาประเด็นต่างๆดังนี้ก่อน
758 ผู้เข้าชม
การจัดให้มีสวัสดิการพนักงานต้องจัดอย่างไร ให้สรรพากรยอมรับ
การจัดให้มีสวัสดิการพนักงานต้องจัดอย่างไร ให้สรรพากรยอมรับ
การวางแผนภาษีเกี่ยวกับสวัสดิการพนักงาน จะต้องเข้าใจเงื่อนไขและองค์ประกอบของความหมายของคำว่า สวัสดิการ ในมุ่งมองตามประมวลรัษฎากรเสียก่อน สวัสดิการที่นายจ้างมีให้กับพนักงานนั้น เพื่อให้ลูกจ้างมีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ในการทำงานดีขึ้น สะดวกสบายมากขึ้น แต่ต้องเป็นไปตามกฎหมายแรงงานจะถือเป็นหลักฐานทางภาษีอากร เพื่อใช้หักเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการได้ จะต้องมีองค์ประกอบครบ 3 ข้อดังต่อไปนี้
2320 ผู้เข้าชม
ค่าเบี้ยประกันชีวิต ที่มีชีวิตคุณเป็นเดิมพัน
ค่าเบี้ยประกันชีวิต ที่มีชีวิตคุณเป็นเดิมพัน
ค่าเบี้ยประกันชีวิต แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การประกันชีวิต และ การประกันวินาศภัย ค่าเบี้ยประกันชีวิต ผู้ประกอบการซึ่งเป็นนายจ้าง ได้จ่ายค่าเบี้ยประกันชีวิตให้แก่พนักงานโดยกรมธรรม์ได้กำหนดผู้รับผลประโยชน์เป็นพนักงาน ค่าเบี้ยประกันดังกล่าว ถือเป็นเงินได้ของพนักงาน ต้องนำมาคำนวณเงินได้ของพนักงานแต่ละคน และค่าเบี้ยประกันชีวิตที่ผู้ประกอบการจ่ายให้กับพนักงานเป็นการทั่วไป (ไม่เฉพาะเจาะจงคนใดคนหนึ่ง) ผู้ประกอบการสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้
742 ผู้เข้าชม
หลักเกณฑ์การหักลดหย่อนภาษีลูกกตัญญู
หลักเกณฑ์การหักลดหย่อนภาษีลูกกตัญญู
การหักลดหย่อนภาษีลูกกตัญญู เป็นการอนุญาตให้บุคคลธรรมดาที่มีรายได้ และมีการอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาของผู้มีเงินได้ รวมทั้งบิดามารดาของสามี หรือภรรยา ของผู้มีเงินได้ โดยให้หักค่าอุปการะเลี้ยงดูเป็นค่าใช้จ่ายได้คนละ 30,000 บาท โดยที่บิดามารดาดังกล่าว จะต้องมีอายุ 60 ปีขึ้นไป และมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ และอยู่ในความเลี้ยงดูของผู้มีเงินได้
2974 ผู้เข้าชม
บริษัทนำเงินค้ำประกันไปซื้อสลากออมสิน ถูกรางวัลแล้วต้องเสียภาษี?
บริษัทนำเงินค้ำประกันไปซื้อสลากออมสิน ถูกรางวัลแล้วต้องเสียภาษี?
บริษัท ยู. จำกัด ได้มีข้อกำหนดในการเข้าทำงานกับบริษัทฯ โดยให้พนักงานต้องมีหนังสือค้ำประกันจากธนาคาร หรือนำเงินสดมาฝากค้ำประกันการทำงานกับบริษัทฯ ตามจำนวนเงินที่บริษัทฯ กำหนด ซึ่งบริษัทฯ เห็นว่า เงินที่พนักงานนำมาค้ำประกัน พนักงานควรจะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากเงินประกันดังกล่าว บริษัทฯ จึงได้นำเงินดังกล่าวไปซื้อสลากออมสินหรือสลาก ธ.ก.ส. โดยซื้อในนามของบริษัทฯ และแยกสลากของพนักงานแต่ละคน เมื่อสลากของพนักงานแต่ละคนถูกรางวัล บริษัทฯ ก็จะนำเงินรางวัลนั้นมาจ่ายคืนให้กับพนักงานที่ถูกรางวัลทั้งจำนวน
1218 ผู้เข้าชม
วิธีการให้เงินกู้ยืมแก่กรรมการ,พนักงาน โดยไม่คิดดอกเบี้ย
วิธีการให้เงินกู้ยืมแก่กรรมการ,พนักงาน โดยไม่คิดดอกเบี้ย
ถ้าตอบกันโดยตรงตามประมวลรัษฎากร ก็เปิดช่องเอาไว้เหมือนกัน โดยที่ประมวลนั้นได้กล่าวไว้ว่า อาจกระทำได้ แต่ต้องมีเหตุอันสมควร ทีนี้เราก็ต้องมาดูว่าเหตุใดบ้างที่ถือว่าเป็นเหตุอันสมควร ปรากฎว่าไม่มีบอกไว้เป็นการชัดเจนว่า ที่ว่าเหตุสมควรน่ะคืออะไร ให้อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่
3587 ผู้เข้าชม
งบกำไรขาดทุน ( Income Statement )
งบกำไรขาดทุน ( Income Statement )
สวัสดีครับ หลังจากที่เราได้อธิบายถึงส่วนประกอบของงบดุลกันไปแล้ว วันนี้ถึงคิวของ งบกำไรขาดทุน กันบ้าง มาทบทวนกันสักหน่อยดีกว่าว่า งบกำไรขาดทุน คือะไร งบกำไรขาดทุน ก็คือ ส่วนที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของกิจการ ในระยะเวลา 1 งวดบัญชี ซึ่งในงบกำไรขาดทุนจะมีส่วนประกอบ คือ
1516 ผู้เข้าชม
193693 ผู้เข้าชม
«
1
...
15
16
17
18
19
20
...
111
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1145
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1110
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
17-18 ธันวาคม 2567 (เวลา 09:00 - 16:00)
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com