TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
บัญชีโคตรง่าย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
บัญชีโคตรง่าย
1110 รายการ
จรรยาบรรณวิชาชีพ นักบัญชี
จรรยาบรรณวิชาชีพ นักบัญชี
จรรยาบรรณวิชาชีพ นักบัญชี หลัก ๆ ที่นักบัญชีจะต้องมี ก็คือเรื่องของความซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา มีการกำหนดจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพของนักบัญชี ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 หลายคนอาจจะมองว่า อาชีพนักบัญชีนั้น เปรียบได้กับฟันเฟืองหนึ่งในองค์กรธุรกิจต่าง ๆ ที่ดูเหมือนจะไม่มีความสำคัญเท่าตำแหน่งอื่น ๆ มากเท่าไรนัก เพราะมีหน้าที่แค่ดูแลตัวเลขรายรับรายจ่ายขององค์กรเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ทั้งที่จริงแล้ว นักบัญชี เป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญจนถึงขั้นว่าขาดไม่ได้ ไม่ว่าองค์กรจะมีขนาดเล็กหรือใหญ่เท่าไรก็ตาม นักบัญชีไม่ได้มีหน้าที่แค่คำนวณ หรือบันทึกรายรับรายจ่ายอย่างที่เข้าใจกันเพียงอย่างเดียว เพราะต้องมีการบันทึกทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการเงิน โดยเฉพาะเรื่องของเอกสารต่าง ๆ ซึ่งถ้าหากไม่มีการดำเนินงานในส่วนนี้ก็จะทำให้ผู้บริหารไม่สามารถวางแผนต่อไปได้ และมีโอกาสที่ธุรกิจจะประสบความล้มเหลวสูง
82797 ผู้เข้าชม
มาตรฐานการบัญชี (Accounting standard) คืออะไร?
มาตรฐานการบัญชี (Accounting standard) คืออะไร?
การทำธุรกิจหรือประกอบกิจการใดๆระบบบัญชีหรือการจัดทำบัญชีถือเป็นหัวใจหลักของการดำเนินงาน ความหมายของคำว่า ระบบบัญชีก็คือแบบแผนของการปฏิบัติงานทางการบัญชีเริ่มตั้งแต่การจัดเก็บข้อมูลทางการเงิน การจดบันทึกบัญชี การจำแนกประเภทบัญชี การกำหนดแบบพิมพ์เอกสารและสมุดบัญชี ดังนั้นเพื่อให้การจัดทำระบบบัญชีเหล่านี้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงต้องมีมาตรฐานการบัญชีเกิดขึ้น
36673 ผู้เข้าชม
ปรับปรุงรายได้รับล่วงหน้า
ปรับปรุงรายได้รับล่วงหน้า
ปรับปรุงรายได้รับล่วงหน้า ปรับปรุงรายได้รับล่วงหน้า รายได้รับล่วงหน้า หมายถึง รายได้ที่ได้รับจากลูกค้าล่วงหน้า โดยที่ยังไม่ได้ส่งมอบสินค้าหรือให้บริการแก่ลูกค้า ซึ่งกิจการมีภาระต้องให้บริการในอนาคต ดังนั้น จำนวนเงินที่ได้รับจึงเป็นหนี้สินหมุนเวียน เมื่อกิจการได้ให้บริการเสร็จเรียบร้อยเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดแล้ว จึงจะบันทึกบัญชีเปลี่ยนจากหนี้สินเป็นรายได้ตามส่วนที่ได้ให้บริการแก่ลูกค้า บริการที่ได้ให้แก่ลูกค้าในงวดนั้นจะถือว่ารายได้เกิดขึ้นในงวดนั้นด้วย ส่วนจำนวนเงินที่กิจการได้รับไว้แล้วแต่ยังไม่ให้บริการจึงเป็นเสมือนหนี้สินยกไปงวดถัดไป เช่น ค่าบริการรับล่วงหน้า ค่าเช่ารับล่วงหน้า สามารถบันทึกได้ 2 วิธี
53608 ผู้เข้าชม
ปรับปรุงค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า
ปรับปรุงค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า
ปรับปรุงค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ปรับปรุงค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่กิจการจ่ายเงินล่วงหน้าไปแล้ว แต่ยังไม่ได้รับบริการหรือรับบริการยังไม่ครบตามจำนวนเงินที่จ่ายไป ดังนั้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจึงเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีนี้ส่วนหนึ่ง และเหลืออีกส่วนหนึ่งเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีถัดไป จึงถือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน การบันทึกจำนวนเงินที่จ่ายไปสามารถบันทึกได้ 2 วิธี คือ การบันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ทั้งจำนวนเป็นสินทรัพย์ในวันที่จ่ายเงิน เดบิต ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า XXX (รายการสินทรัพย์ในงบดุล) เครดิต เงินสด XXX ณ วันสิ้นงวดซึ่งได้ใช้บริการไปแล้วบางส่วนก็จะลงบันทึกล้างค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าในส่วนที่ได้ใช้บริการแล้วออก โดยจะบันทึกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายแทน เดบิต ค่าใช้จ่าย XXX (รายการค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน) เครดิต ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า XXX
100650 ผู้เข้าชม
พฤติกรรมต้นทุน (Cost Behavior)
พฤติกรรมต้นทุน (Cost Behavior)
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) คือต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนการผลิต เช่น วัตถุดิบ ค่าแรงรายชั่วโมง ตัวอย่างที่ 1 บริษัทวรุณ จำกัด ผลิตเครื่องเล่นเสตอริโอ ภายใต้ยี่ห้อ V-sound บริษัทซื้อชิ้นส่วนต่าง ๆ จากผู้ผลิตรายย่อย (Supplier) ภายนอก ราคาชิ้นละ 10 บาท ดังนั้น ยิ่งต้องการจำนวนมาก ๆ ก็จะทำให้ต้นทุน ในการซื้อเพิ่มขึ้น ถือเป็นต้นทุนผันแปร โดยที่ ต้นทุนต่อหน่วยจะคงที่ คือ 10 บาท/หน่วย แต่ต้นทุนรวมจะเพิ่มขึ้นตามจำนวนหน่วยผลิต
28984 ผู้เข้าชม
ต้นทุนช่วงการผลิต
ต้นทุนช่วงการผลิต
การบัญชีต้นทุนช่วงการผลิต 1. เป็นวิธีการรวบรวมและสะสมต้นทุนการผลิตของกิจการที่มีการผลิตต่อเนื่องกันไป มักใช้ในกิจการที่ผลิตสินค้าจำนวนมาก 2. การคำนวณต้นทุนต่อหน่วยของสินค้าในงวดบัญชี จะใช้วิธีการถัวเฉลี่ยความสำเร็จของงานให้อยู่ในรูปของหน่วยเทียบสำเร็จรูป (Equivalent Units) เสียก่อน เนื่องจากลักษณะของการผลิตมีความต่อเนื่องกันไปตลอด 3. มีการจัดทำรายงานต้นทุนการผลิต แยกตามแผนกผลิต (โดยปกตินิยมรวบรวมต้นทุนตามงวดเวลา 1 เดือน)
42180 ผู้เข้าชม
บัญชีการเงิน VS บัญชีเพื่อการจัดการ
บัญชีการเงิน VS บัญชีเพื่อการจัดการ
บัญชีการเงิน และบัญชีเพื่อการจัดการ (Financial Accouting and Management Accounting) จากจำนวนผู้ใช้งานสารสนเทศทางการบัญชีจำนวนมาก สามารถที่จะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ใช้ที่เป็นบุคคลภายใน และผู้ใช้ที่เป็นบุคคลภายนอก โดยจะจัดแบ่งกาบัญชีออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่การบัญชีการเงิน และการบัญชีเพื่อการจัดการ บัญชีการเงิน (Financial Accounting) เป็นบัญชีที่มีการจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศให้แก่ผู้บริหาร และบุคคลภายนอกองค์กร เช่น นักลงทุน ผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ หน่วยงานรัฐบาล เช่น กรมสรรพากร กรมทะเบียนธุรกิจและการค้า ซึ่งบัญชีการเงินนี้จะต้องปฎิบัติตามมาตรฐานการบัญชีและหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ต้องมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ
2421 ผู้เข้าชม
makro กับ micro
makro กับ micro
makro กับ micro การบัญชีแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ makro กับ micro Mackro แบ่งเป็น 5 ระบบบัญชี 1.ระบบบัญชีรายได้ประชาชาติ จะต้องคิดหา GDP รายได้ประชาติต่อหัว จะพูดถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศ 2.ระบบปัจจัยการผลิตและผลผลิต Input กับ Output เป็นระบบบัญชีหมุนเวียนภาวะเศรษฐกิจในแต่ละ sector ซึ่งประเทศไทยเราทำประมาณ 180 sector มันจะบอกว่าถ้าอุตสาหกรรม sector ที่ 1 ผลิตข้าว เปลี่ยน 1 % sector ที่ 180 ผลิตรถยนต์จะเปลี่ยนกี่เปอร์เซ็นต์ มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่าง sector 3.ระบบเงินหมุนเวียนภายในประเทศ โดยจะบอกว่าในแต่ละ sector มีเงินหมุนเวียนอยู่เท่าไหร่ 4.ระบบบัญชีเงินดุลสะพัดแห่งชาติ พูดถึงตัวเงินเหมือนกันแต่แทนที่จะหมุนเวียนในประเทศกลับไปหมุนเวียนกับต่างประเทศ บัญชีดุลสะพัดประกอบไปด้วย ดุลการค้า และดุลบริการ
1952 ผู้เข้าชม
การวิจัยกับการการวิเคราะห์งบการเงิน
การวิจัยกับการการวิเคราะห์งบการเงิน
การวิจัยกับการการวิเคราะห์งบการเงิน การที่เราเห็นการเปลี่ยนแปลงในอดีต ทำให้สามารถพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ ทฤษฎีทางการบัญชีแบ่งเป็น 3 ยุค 1. Classical approach งานวิจัยตั้งแต่ช่วงต้น ๆ จนถึงปี 1960s ( 1960-1969) Mid กลางปีคือ 1965 พยามพัฒนาหาว่างบการเงินหรือการบัญชีควรจะแสดงข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสม 2. Market – based accounting research - มีการหา empirical Test มากขึ้น (การทดสอบเชิงประจักษ์จากข้อมูล) จะมุ่งเน้นไปที่ปฏิกิริยาทางการตลาดที่มีต่อข้อมูลทางการบัญชีที่รายงานออกไป - จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกำไรทางการบัญชีกับผลตอบแทนของตลาด( Market Return)ซึ่งอยู่ในบทบาทของข้อมูลทางการบัญชี
3331 ผู้เข้าชม
ดอกเบี้ย MLR, MRR และ MOR ต่างกันอย่างไร
ดอกเบี้ย MLR, MRR และ MOR ต่างกันอย่างไร
สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้บ้านเราอาจจะงงกับคำย่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น MLR หรือ MRR (ซึ่งจริงๆ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลกเพราะในต่างประเทศก็มีคำย่อหลากหลายประมาณนี้เหมือนกัน เช่น LIBOR หรือ SIBOR) วันนี้ CheckRaka.com จะพามาดูกันค่ะว่า แต่ละ Rate คืออะไร เป็นอย่างไร
4243 ผู้เข้าชม
193156 ผู้เข้าชม
«
1
...
35
36
37
38
39
40
...
111
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1145
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1110
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
17-18 ธันวาคม 2567 (เวลา 09:00 - 16:00)
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com