TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
บัญชีโคตรง่าย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
บัญชีโคตรง่าย
1110 รายการ
การควบรวมกิจการ
การควบรวมกิจการ
การที่กิจการนำเงินไปลงทุนในหลักทรัพย์อาจเกิดจากหลายเหตุผล เช่น ต้องการกระจายความเสี่ยง ต้องการลงทุนในตลาดใหม่ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ เป็นต้น โดยที่การลงทุนนั้นๆก็จะหวังผลตอบแทนในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ เงินปันผล ดอกเบี้ย และส่วนเกินจากราคา(กำไรจากการถือครอง) สรุปแล้ว การลงทุนนั้นก็จะนำไปสู่การซื้อธุรกิจ อันจะส่งผลต่อการรายงานทางการเงินเกี่ยวกับเงินลงทุนซึ่งจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลหรือความสามารถในการควบคุมต่อบริษัทที่เราไปลงทุน นั่นเอง
4278 ผู้เข้าชม
แนวคิดของการคิดค่าเสื่อมราคา
แนวคิดของการคิดค่าเสื่อมราคา
นักบัญชีคิดว่าการตัดค่าเสื่อมราคาเป็นการปันส่วนอย่างมีระบบ ไม่ใช่เพื่อการสะท้อนมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ความแตกต่างระหว่างค่าเสื่อมราคาทางบัญชีกับทางเศรษฐศาสตร์ · นักบัญชี ยึดหลักmatchingโดยเชื่อว่าถ้ากิจการมีรายได้ที่สม่ำเสมอ ก็ควรมีการปันส่วนค่าเสื่อมราคาที่สม่ำเสมอเช่นเดียวกัน · นักเศรษฐศาสตร์ มองถึงอัตราผลตอบแทนที่ได้รับจากสินทรัพย์นั้น Ex. โทรศัพท์ 1 เครื่อง มีอายุการใช้งาน 5 ปี พอถึงปีที่ 3 ในทางบัญชีจะยังมีมูลค่า แต่ในทางเศรษฐกิจอาจไม่มีมูลค่าแล้ว
3896 ผู้เข้าชม
การซื้อและการรวมส่วนได้เสีย
การซื้อและการรวมส่วนได้เสีย
การซื้อ ( purchase )และการรวมส่วนได้เสีย( pooling ) นั้นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า M&Aซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น การขยายกิจการ การเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน การเพิ่มมูลค่ากิจการ ฯลฯ อย่างไรก็ดีประเด็นสำคัญที่นักวิเคราะห์ควรใส่ใจในเรื่องนี้ก็คือ การเปรียบเทียบกันของรายงานก่อนทำ M&A กับหลังทำ M&A ซึ่งผลกระทบของรายงานอาจมาจากการตัดสินใจในทางเลือกทางการบัญชี
5087 ผู้เข้าชม
การรับรู้ของงบการเงิน
การรับรู้ของงบการเงิน
การรับรู้รายการ หมายถึง การรวมรายการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของงบดุลและงบกำไรขาดทุนหากรายการนั้นเป็นไปตามนิยามขององค์ประกอบและเข้าเกณฑ์การรัยรู้รายการ ซึ่งรับรู้รายการเมื่อเข้าเงื่อนไขทุกข้อ ดังต่อไปนี้ 1. มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการดังกล่าวจะเข้าหรือออกจากกิจการ 2. รายการดังกว่ามีราคาทุนหรือมูลค่าที่สามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ เงื่อนไขข้อแรก “ความน่าจะเป็นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต”
15845 ผู้เข้าชม
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ในกรณีที่ท่านมีรายจ่ายเพื่อพัฒนาสินทรัพย์ไม่มีตัวตน โดยปกติมาตรฐานฯกำหนดให้รวมรายจ่ายดังกล่าวเป็นต้นทุนสินทรัพย์เมื่อเป็นไปตามเกณฑ์ 6 ข้อ ตามที่ระบุในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ย่อหน้าที่ 57 (หรือมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ย่อหน้าที่ 170 หากกิจการเลือกใช้มาตรฐานฉบับนี้) ทั้งนี้ในกรณีของการพัฒนาเว็บไซต์ การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์ ยังคงให้ใช้หลักการดังกล่าวข้างต้น และได้มีมติเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้จัดทำงบการเงินเข้าใจมากยิ่งขึ้นดังย่อหน้าที่ 9 ของ การตีความฉบับดังกล่าว ใจความสรุปได้ว่า
1870 ผู้เข้าชม
บริษัทกับห้างหุ้นส่วนแตกต่างกันอย่างไร ตอน 3
บริษัทกับห้างหุ้นส่วนแตกต่างกันอย่างไร ตอน 3
ต้องทำบัญชีหรือเปล่า เสียภาษีต่างกันมั้ย บริษัทกับห้างหุ้นส่วน ที่มีสถานะเป็นนิติบุคคล ผู้แทนกิจการ (กรรมการของบริษัท/หุ้นส่วนผู้จัดการ) จะเป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี อันนี้ไม่ได้หมายความว่าให้กรรมการ/หุ้นส่วนผู้จัดการทำบัญชีเอง แต่จะต้องให้จัดให้มีคนทำบัญชี เริ่มตั้งแต่วันที่ไปจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลเลย ถามต่อไปว่าเจ้าของกิจการทำเองได้มั้ย กฎหมายได้กำหนดคุณสมบัติของผู้ทำบัญชี มีหลายข้อ หลักๆก็ต้องเรียนจบบัญชี สำหรับกิจการขนาดเล็ก ใช้วุฒิ ปวส ก็พอ แต่เมื่อกิจการใหญ่ขึ้น ก็ต้องใช้คนทำบัญชีจบบัญชีบัณฑิต หากกรรมการ/หุ้นส่วนผู้จัดการจบบัญชี และมีคุณสมบัติครบก็ไปยื่นเป็นผู้ทำบัญชีเองได้ ส่วนการเสียภาษีของนิติบุคคล ก็เหมือนกันไม่ว่าจะจัดตั้งในรูปแบบบริษัท หรือห้างหุ้นส่วน
807 ผู้เข้าชม
บริษัทกับห้างหุ้นส่วนแตกต่างกันอย่างไร ตอน 1
บริษัทกับห้างหุ้นส่วนแตกต่างกันอย่างไร ตอน 1
หลายคนที่สนใจเปิดกิจการใหม่ มักมีคำถามค่ะ ว่าจะเปิดกิจการในรูปแบบบริษัท หรือว่า ห้างหุ้นส่วน แบบไหนดี ก่อนอื่นเราจะต้องเข้าใจลักษณะสำคัญของบริษัทและห้างหุ้นส่วนก่อนนะคะว่ามันมีลักษณะอย่างไร บริษัท เป็นนิติบุคคล โดยมีผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 3 คน แบ่งทุนเป็นหุ้น แต่ละหุ้นมีมูลค่าเท่ากัน มูลค่าหุ้นต้องมีมูลค่าไม่ต่ำกว่า 5 บาท โดยผู้ถือหุ้นต้องลงเงินเป็นทุน หากมีแรงงานจะมาลงแรง อันนี้ไม่ได้นะคะ ต้องมีเงินค่ะ ลักษณะที่สำคัญอีกอย่างก็คือ ผู้ถือหุ้นจะรับผิดจำกัดในหนี้สินของบริษัทเพียงไม่เกินจำนวนเงิน ตามค่ามูลค่าหุ้นที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบเท่านั้น หมายความว่า นางกุ๊กไก่ ลงชื่อจองซื้อหุ้น 10 หน่วย หน่วยละ 100 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท บริษัทเรียกเก็บค่าหุ้น 25% คือเงิน250 บาท ต่อมาบริษัทบริหารเงินหล่มจมหนี้สินพ้นล้นตัว เป็นเหตุให้ต้องจ่ายเงินคือเจ้าหนี้ 10 ล้านบาท นางก็จะรับผิดจำนวน 75% ของค่าหุ้นที่ยังส่งไม่ครบ คือมูลค่า 750 บาท แต่ถ้าหากว่านางจ่ายค่าหุ้นทั้งจำนวน 1,000 บาทไปแล้ว ถึงบริษัทจะเป็นหนี้เกินทุน นางก็ไม่ต้องรับผิดในหนี้แต่อย่างใด
1072 ผู้เข้าชม
บริษัทกับห้างหุ้นส่วนแตกต่างกันอย่างไร ตอน 2
บริษัทกับห้างหุ้นส่วนแตกต่างกันอย่างไร ตอน 2
ในตอนที่ 1 ได้ทราบลักษณะสำคัญระหว่างบริษัทและห้างหุ้นส่วนกันไปแล้ว ว่ามันมีลักษณะอย่างไร คำถามอย่างหนึ่งที่มักจะถามกันบ่อยๆ ก็คือ เปิด บริษัท กับห้างหุ้นส่วน ต้องมีเงินทุนเท่าไหร่ กำหนดให้ต้องมีเงินทุนจดทะเบียนหนึ่งล้านหรือไม่ สำหรับบริษัท กฎหมายกำหนดมูลค่าหุ้นไว้ ไม่ต่ำกว่า 5 บาท สมมติว่าบริษัทแห่งหนึ่งชื่อเริ่มสร้าง มีผู้ถือหุ้น 3 คน ดำเนินการออกหุ้นเพียง 3 หุ้น มูลค่าหุ้นตามกำหนดขั้นต่ำพอดี 5 บาท จึงทำให้มีทุนเท่ากับ 15 บาท แต่เนื่องจากกรมพัฒนฯ มีการกำหนดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนตามจำนวนเงินทุนจดทะเบียน และได้กำหนดค่าธรรมเนียมขั้นต่ำไว้ ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท แบ่งเป็น ค่าธรรมเนียมขั้นต่ำในการจดเปิดบริษัท 5,000 บาท หากเป็นห้างหุ้นส่วนก็มีขั้นต่ำ 1,000 บาท ดังนั้นบริษัทเริ่มสร้าง ที่มีทุนจดทะเบียนเท่ากับ 15 บาท ก็ต้องเสียค่าธรรมเนียมเท่ากับทุนจดทะเบียนหนึ่งล้าน ซึ่งเมื่อเงินทุนจำนวนนี้ไม่พอ ก็จะต้องมีการเพิ่มทุนอีก และต้องเสียค่าธรรมเนียมในการเพิ่มทุนอีก เช่น บริษัทเริ่มสร้างทำการเพิ่มทุนอีก 1,000 บาท ก็เสียค่าธรรมเนียมอีก 5,000 บาท
767 ผู้เข้าชม
เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นสามัญ ต้องดำเนินการจัดตั้งหรือจดทะเบียนอย่างไรบ้าง
เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นสามัญ ต้องดำเนินการจัดตั้งหรือจดทะเบียนอย่างไรบ้าง
จัดตั้งกิจการในรูปแบบเจ้าของคนเดียว/ห้างหุ้นส่วนสามัญ/คณะบุคคล ตกลงกันแล้วก็เปิดร้านได้เลยใช่มั้ย ลองพิจารณาข้อกฏหมายที่เกี่ยวข้องไว้ก่อน จะได้ไม่มีปัญหาอะไรตามมาทีหลังค่ะ 1. จดทะเบียนพาณิชย์ ประเภทกิจการที่เปิดต้องจดทะเบียนพาณิชย์หรือไม่ เป็นขายสินค้าหรือไม่ โดยกำหนดว่าหากขายได้เกินวันละ 20 บาท หรือมีสินค้าเตรียมขายเกิน 500 บาท หากใช่จะต้องไปจดที่กรมพัฒนาฯ การให้บริการที่ไม่ได้เกี่ยวกับกับอินเตอร์เน็ตหรือคอมพิวเตอร์ ไม่ต้องจด ตัวอย่างของกิจการที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์มีอะไรบ้าง ร้านอาหาร > จด ร้านเกมส์ ร้านบริการคอมพิวเตอร์ > จด ร้านเช่าวีดีโอ > จด ร้านเช่าหนังสือ > ไม่ต้องจด ร้านเช่าพระเครื่อง > จด
3326 ผู้เข้าชม
การเงินและการบัญชี มีความสำคัญอย่างไรต่อการทำธุรกิจ
การเงินและการบัญชี มีความสำคัญอย่างไรต่อการทำธุรกิจ
ความสำเร็จในการทำธุรกิจออนไลน์หรือธุรกิจทุกประเภทเกิดจากองค์ประกอบหลายส่วน การจัดวางระบบการเงินและการบัญชีเป็นส่วนที่มีความสำคัญเป็นอันดับแรก เพราะนอกจากจะทำให้เราทราบสถานะของกิจการว่ามีผลกำไรขาดทุนหรือไม่อย่างไร การจัดทำบัญชีและการเงินยังช่วยให้เราทราบข้อมูลของกิจการ เช่น ทราบจำนวนทรัพย์สิน หนี้สิน และส่วนที่นำมาลงทุนทำให้เรารู้ว่าธุรกิจที่กำลังทำอยู่นั้นมีความมั่นคงมากน้อยเพียงใด สิ่งเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์เพื่อวางแผนการทำงานให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายได้เร็วขึ้น นอกจากที่กล่าวมาแล้วการเงินและการบัญชียังมีผลต่อการทำธุรกิจอีกหลายส่วน ดังนี้
7374 ผู้เข้าชม
193746 ผู้เข้าชม
«
1
...
37
38
39
40
41
42
...
111
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1145
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1110
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
17-18 ธันวาคม 2567 (เวลา 09:00 - 16:00)
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com