TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
บัญชีโคตรง่าย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
บัญชีโคตรง่าย
1110 รายการ
การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบ Periodic (พีริออดิก) และ Perpetual (เพอเพชชวล)
การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบ Periodic (พีริออดิก) และ Perpetual (เพอเพชชวล)
การบัญชีในปัจจุบันมีบทบาทสำคัญต่อทุกๆกิจการ การทำงานของบัญชีก็มีหลายส่วนงานด้วยกัน ซึ่งส่วนงานที่สำคัญของบัญชีก็คือการออกงบการเงิน ในงบการเงินประกอบด้วย 5 งบที่สำคัญคือ 1.งบแสดงฐานะการเงิน 2.งบกำไรขาดทุน 3.งบแสดงการเปลี่ยนในส่วนของเจ้าของ 4.งบกระแสเงินสด 5.หมายเหตุประกอบงบการเงิน ในหลายส่วนงานของกิจการสามารถนำงบการเงินไปใช้ได้ เช่น ฝ่ายบริหารใช้ในการบริหารงาน ฝ่ายการเงินใช้ดูสภาพคล่องของกิจการ และสิ่งที่สำคัญของบัญชีคือการใช้รูปแบบการบันทึกบัญชีที่เหมาะสมกับกิจการ ซึ่งในบทความนี้จะมาพูดถึงเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบ Periodic และ Perpetual มาดูกันเลยนะคะว่ามีรูปแบบการบันทึกบัญชียังไงบ้าง
7466 ผู้เข้าชม
การแสดรายการสินทรัพย์ไม่มีตัวตนในงบดุล
การแสดรายการสินทรัพย์ไม่มีตัวตนในงบดุล
สินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีวิธีการแสดงในงบดุลได้ดังนี้ คือ 1. แสดงเป็นรายการหนึ่งต่างหากจากสินทรัพย์ถาวรที่มีตัวตน
1239 ผู้เข้าชม
วัดความสามารถในการดำเนินงานด้วยอัตราส่วน ROE และ ROA
วัดความสามารถในการดำเนินงานด้วยอัตราส่วน ROE และ ROA
ROE และ ROA เหมือนเป็นมิเตอร์วัดฝีมือในการบริหารจัดการของบริษัท โดย ROE และ ROA มีประเด็นที่ต้องวิเคราะห์
3252 ผู้เข้าชม
Petty Cash เพทที แคช คืออะไร
Petty Cash เพทที แคช คืออะไร
การทำธุรกิจอะไรซักอย่างนั้น ผู้บริหารจำเป็นจะต้องมีเงินมาใช้ในการลงทุนทำธุรกิจต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ หรือผลิตสินค้าต่างๆ ก็จำเป็นจะต้องใช้เงินในการลงทุนทำสินค้าและบริการขึ้นมาทั้งสิ้น ซึ่งผู้บริหารสามารถหาเงินลงทุนได้จากผู้ร่วมหุ้น หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้มีเจตนารมณ์เดียวกันกับเราที่ต้องการที่จะทำธุรกิจในรูปแบบที่เรากำลังดำเนินการอยู่ เมื่อได้รายได้มาแล้วผู้บริหารหรือกิจการจะต้องให้เงินปันผลตามจำนวนหุ้นที่ผู้ร่วมหุ้นได้ถือหุ้นไว้ ซึ่งในปัจจุบันการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการสามารถทำผ่านอินเทอร์เน็ตได้ โดยผู้ซื้อและผู้ขายไม่จำเป็นจะต้องพบเจอหน้ากันก็สามารถเกิดการกซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการได้ ซึ่งเราเรียกกันว่าระบบ E-Commerce (อีคอมเมิร์ซ) และในปกติเมื่อกิจการมีรายได้ก็มักจะนำเงินฝากเข้าธนาคารเสมอ เพื่อป้องกันการสูญหายของเงิน แต่กิจการจะเว้นเงินไว้ส่วนหนึ่งเพื่อใช้จ่ายในบริษัทและในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งเราเรียกกันว่า Petty Cash
9776 ผู้เข้าชม
จับทุกการเคลื่อนไหวของเงินด้วยงบกระแสเงินสด
จับทุกการเคลื่อนไหวของเงินด้วยงบกระแสเงินสด
เงินสดเป็นเหมือนเส้นเลือดของกิจการ งบกระแสเงินสดจะเป็นตัวบอกว่าเงินไหลไปทางไหนบ้าง โดยงบกระแสเงินสดจะแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน กระแสเงินสดจากการลงทุน และกระแสเงินจากการจัดหาเงิน
1873 ผู้เข้าชม
การจัดหมวดบัญชีและผังบัญชี
การจัดหมวดบัญชีและผังบัญชี
หมวดบัญชีและผังบัญชี การที่จะทำการบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภทต่าง ๆ ให้ละเอียดและเป็นระเบียบเรียบร้อยสะดวกแก่การจัดทำรายงานเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงและค้นหาภายหลังนั้น ควรจัดบัญชีต่าง ๆ ให้เป็นหมวดหมู่และกำหนดเลขที่สำหรับหมวดหมู่บัญชีไว้ใน “ผังบัญชี” (Chart of Account) หมวดบัญชี คือ การรวบรวมสิ่งที่เหมือนกันเข้าไว้ในหมวดเดียวกัน และมีความหมายเหมือนกัน เช่น รถยนต์ เงินสด เป็นสิ่งที่กิจการครอบครอง ก็จะถือเป็นสินทรัพย์ของกิจการ แต่ถ้าเป็นเจ้าหนี้ เงินกู้ ก็จะถือว่าเป็นหนี้สินของกิจการเพราะมีภาระผูกพันในอนาคต เป็นต้น การจัดหมวดหมู่ของบัญชี แบ่งเป็น 5 หมวด
136032 ผู้เข้าชม
สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ
สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นๆ
สินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีวิธีการแสดงในงบดุลได้ดังนี้ คือ 1. แสดงเป็นรายการหนึ่งต่างหากจากสินทรัพย์ถาวรที่มีตัวตน
2514 ผู้เข้าชม
ความสามารถในการทำกำไรจากงบกำไรขาดทุน
ความสามารถในการทำกำไรจากงบกำไรขาดทุน
ผู้ถือหุ้นให้เงินลงทุนกับบริษัทไปเพื่อแสวงหากำไร ถ้ามองเหมือนการทำสงคราม งบดุลเหมือนการจัดทัพออกศึก ผลงานของกองทัพคือไปออกรบและได้ชัยชนะกลับมา ผู้ถือหุ้นก็จะได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล
3258 ผู้เข้าชม
การปรับปรุงรายการบัญชี วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป
การปรับปรุงรายการบัญชี วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป
การปรับปรุงรายการบัญชี วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป เมื่อมีการบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป ซึ่งในบางครั้งอาจจะมีข้อมูลบางส่วนที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้ยอดคงเหลือในงบการเงินนั้นมียอดที่สะท้อนถึงการดำเนินงานที่แท้จริงของกิจการ ซึ่งในการปรับปรุงรายการเมื่อสิ้นงวดมีอยู่ 8 ประเภทด้วยกันคือ 1. รายได้ค้างรับ 2. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 3. รายได้รับล่วงหน้า 4. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 5. ค่าเสื่อมราคา 6. วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป 7. หนี้สงสัยจะสูญ 8. การแก้ไขข้อผิดพลาด และในบทความนี้จะพูดถึงการปรับปรุงรายการบัญชีวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป เรามาดูกันเลยนะคะว่ามีวีธีการปรับปรุงยังไงบ้าง
52333 ผู้เข้าชม
บัญชี NPAEs กับภาษี ตอน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บัญชี NPAEs กับภาษี ตอน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
ความสำคัญของข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่สามารถควบคุมบุคคลหรือกิจการอื่นหรือสามารถใช้อิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญในการตัดสินใจทางการเงินหรือกำหนดนโยบายการดำเนินงานเหนือบุคคลหรือกิจการอื่น ความสัมพันธ์ระหว่างกิจการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเป็นลักษณะตามปกติของการประกอบธุรกิจการค้า เช่น กิจการซื้อ หรือขาย หรือลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ความสัมพันธ์ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของกิจการที่เสนอรายงานได้เนื่องจากรายการที่เกิดขึ้นระหว่างกัน อาจเป็นรายการที่มีการกำหนดราคาไว้แล้ว (ซึ่งไม่ใช่รายการที่มีราคา ซึ่งสามารถต่อรองกันโดยอิสระ) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันจึงมีความสำคัญ เนื่องจากผู้ใช้งบการเงินจะได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมทั้งประเภทและองค์ประกอบของรายการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันด้วย ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกิจการอาจได้รับผลกระทบจากความสัมพันธ์กับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันแม้ไม่มีรายการระหว่างกัน การมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอาจเพียงพอที่จะส่งผลกระทบต่อกิจการ ตัวอย่างเช่น บริษัทย่อยอาจเลิกความสัมพันธ์กับคู่ค้าเมื่อบริษัทใหญ่ซื้อบริษัทย่อยอีกแห่งหนึ่งซึ่งทำธุรกิจประเภทเดียวกับคู่ค้า หรือกิจการหนึ่งอาจระงับกิจกรรมบางอย่างเพราะได้รับอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญจากอีกกิจการหนึ่ง เช่น บริษัทย่อยอาจได้รับคำสั่งจากบริษัทใหญ่ไม่ให้ดำเนินการด้านวิจัยและพัฒนาจากเหตุผลดังกล่าว ข้อมูลเกี่ยวกับรายการบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงค้างของรายการเหล่านั้น และความสัมพันธ์กับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จึงมีผลกระทบต่อผู้ใช้งบการเงินในการประเมินการดำเนินงานของกิจการ ความเสี่ยงและโอกาสทางธุรกิจของกิจการนั้นๆ
7221 ผู้เข้าชม
193315 ผู้เข้าชม
«
1
...
55
56
57
58
59
60
...
111
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1145
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1110
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
17-18 ธันวาคม 2567 (เวลา 09:00 - 16:00)
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com