TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
รายการบทความที่ค้นหา
รายการบทความที่ค้นหา
ย้อนกลับ
หน้าแรก
รายการบทความที่ค้นหา
หมวดหมู่ทั้งหมด
News
ทั่วไป
Our Business
Product
Sales Order
Purchase Order
Accounts Receivable
Accounts Payable
Inventory Control
Sales Force Automation
API Lazada & Shopee
Office Location
Partners
สำนักงานบัญชีออนไลน์
ภาคเหนือ
ภาคใต้
ภาคกลาง
ภาคตะวันตก
ภาคตะวันออก
ผู้ทำบัญชีอิสระ
โครงการ Partners
New To myAccount
Payment
Services
More
Enewsletter
คู่มือการใช้งาน
อบรมออนไลน์
วิดีโออบรมออนไลน์
แนะนำภาพรวมของโปรแกรม
ระบบบริหารงานขาย
ระบบบริหารงานจัดซื้อ
ระบบสินค้าคงคลัง
ระบบบัญชี
ระบบบัญชีลูกหนี้
ระบบบัญชีเจ้าหนี้
ระบบเช็คและธนาคาร
ระบบเงินสดย่อย
ระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์
ระบบอนุมัติเอกสาร
รวมคู่มือการใช้งาน
คู่มือการติดตั้งโปรแกรม
คู่มือการตั้งค่าระบบ
คู่มือระบบ Mobile
คู่มือระบบบริหารงานขาย
คู่มือบริหารงานจัดซื้อ
คู่มือระบบบริหารคลังสินค้า
คู่มือระบบบริหารงานบัญชี
คู่มือระบบบัญชีลูกหนี้
คู่มือระบบบัญชีเจ้าหนี้
คู่มือระบบรายการรายวัน
คู่มือระบบเงินสดย่อย
คู่มือการใช้งาน Dashboard
คู่มือการดูรายงาน
คู่มือระบบอนุมัติเอกสาร
คู่มือระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์
คู่มือระบบเช็คและธนาคาร
คู่มือระบบเช็ครับ
คู่มือระบบเช็คจ่าย
คู่มือระบบธนาคาร
คู่มือ รายงานการวิเคราะห์ Dashboard
คู่มือ API เชื่อมต่อข้อมูล
คู่มือ Audit and Internal control
ข่าวสาร
ภาพบรรยากาศงานจัดอบรมให้กับกลุ่มองค์กรและธุรกิจหรือบุคคลธรรมดาที่สนใจซอฟแวร์ฟรี!!
Implement Solution
ระบบบริหารงานขาย
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
Partners สถาบันการศึกษา
Site Reference
ธุรกิจค้าปลีก - ค้าส่ง
ธุรกิจสำนักงานบัญชี
ผู้ทำบัญชีอิสระ
ธุรกิจบริการ
ธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ
ธุรกิจการขนส่ง
ธุรกิจการเงินและการลงทุน
ธุรกิจภาคการเกษตร
ธุรกิจภาคอุตสาหกรรม
ธุรกิจสื่อและสิ่งพิมพ์
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม
อื่นๆ
Dashboard
บัญชีโคตรง่ายกับ myAccount Cloud
เหตุผลที่ลูกค้าเลือกใช้ myAccount Cloud
รายละเอียดการ Update Version
โครงการเพื่อสังคม Social Enterprise
ค้นหา
รายการบทความที่ค้นหา
2277 รายการ
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2557 (2 ก.พ. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2557 (2 ก.พ. 2558)
ภาพรวมเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3 ของปี 2557 ปรับตัวดีขึ้นแม้ปริมาณธุรกิจโดยรวม 1.96 ล้านล้านบาท หดตัว 0.25 % เมื่อเทียบกับการหดตัวจากไตรมาสที่แล้ว สร้างรายได้และทำกำไร ทั่วประเทศกว่า 5.2 หมื่นล้านบาท สำหรับแนวโน้มเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยปี 2557 คาดว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.5-1.0 ”
755 ผู้เข้าชม
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยตลอดปี ๒๕๕๗ (20 มี.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยตลอดปี ๒๕๕๗ (20 มี.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทย ปี 2557 ช่วงแรกของปียังคงเจอกับสถานการณ์ทางการเมืองที่ยังคงไม่ แน่นอน ต้นทุนการผลิตและค่าครองชีพปรับตัวสูง รวมทั้งราคาพืชผลการเกษตรอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ตลอดจนภัยทาง ธรรมชาติโดยเฉพาะสถานการณ์น้ำท่วมในหลายจังหวัดที่ส่งผลกระทบกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อเนื่องมา ใน ภาพรวมภาคสหกรณ์ไทยที่รวบรวมจากรายงานของผู้สอบบัญชีที่รับรองงบการเงินเสร็จเรียบร้อยแล้วจำนวน 10,831 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์จำนวน 6,762 แห่ง (ภาคเกษตร 3,733 แห่ง นอกภาคเกษตร 3,029 แห่ง) และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 4,069 แห่ง มีจำนวนสมาชิกรวมทั้งสิ้น 12.15 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ของประชากรทั้ง
814 ผู้เข้าชม
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 4/2557 (27 มี.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 4/2557 (27 มี.ค. 2558)
"เศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 4/2557 ขยายตัวเล็กน้อยที่ 0.58% จากไตรมาสที่แล้ว มีปริมาณธุรกิจโดยรวม 1.96 ล้านล้านบาท สร้างรายได้และทำกำไรทั่วประเทศกว่า 5.2 หมื่นล้านบาท ส่งผลให้กำไรขยายตัว 4.56% สมาชิกมีการก่อหนี้สินเฉลี่ยลดลง และชะลอการออมเงิน คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจปีหน้า น่าจะดีขึ้นและขยายตัวอยู่ในช่วงร้อยละ 0.5-1.5”
979 ผู้เข้าชม
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยครึ่งแรกปี 2558 (5 ต.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยครึ่งแรกปี 2558 (5 ต.ค. 2558)
"เศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยครึ่งแรกปี 2558 ขยายตัว 4.34 % ธุรกิจเพิ่ม กำไรเพิ่ม เชื่อว่าเศรษฐกิจครึ่งปีหลังน่าจะขยายตัวต่อเนื่อง” เศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยครึ่งแรกปี 2558จากการตรวจสอบบัญชีและรวบรวบข้อมูลได้ (วันที่ 30 มิถุนายน 2558) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั่วประเทศจำนวนทั้งสิ้น 11,125 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์ 6,987 แห่ง (ภาคเกษตร 3,848 แห่ง นอกภาคเกษตร 3,139 แห่ง) และกลุ่มเกษตรกร 4,138 แห่ง มีสมาชิกผู้รับบริการรวมทั้งสิ้น 12.78 ล้านคนเศษ คิดเป็น 19.63 % ของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยขยายตัวมากว่าเศรษฐกิจประเทศที่ 4.34 % เกี่ยวเนื่องจากนโยบายรัฐบาลในการกระตุ้นเศรษฐกิจส่งเสริม และช่วยเหลือสหกรณ์ผ่านโครงการต่าง ๆ ที่ผ่านม
937 ผู้เข้าชม
หนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ภาคสหกรณ์ไทย (5 ต.ค. 2558)
หนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ภาคสหกรณ์ไทย (5 ต.ค. 2558)
แหล่งข่าวจาก ธปท. กล่าวว่า ปัจจุบันการก่อหนี้ใหม่ของครัวเรือนไทยเริ่มชะลอลง แต่มีแนวโน้มหนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) เพิ่มขึ้น และสถาบันการเงินเริ่มเห็นสัญญาณเหล่านี้ ทำให้ระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อมากขึ้น ที่ผ่านมาจากการประเมินของ ธปท.มองว่าโครงการรถยนต์คันแรกที่เป็นตัวกระตุ้นเกิดภาระหนี้สินครัวเรือนมาก น่าจะเริ่มทยอยหยุดอายุลงในปลายปี 59 หากเศรษฐกิจกลับมาขยายตัวดีขึ้นจะส่งผลให้ยอดคงค้างหนี้ครัวเรือนลดลงได้
871 ผู้เข้าชม
เงินออมภาคสหกรณ์ไทยครึ่งแรกปี 2558 (13 ต.ค. 2558)
เงินออมภาคสหกรณ์ไทยครึ่งแรกปี 2558 (13 ต.ค. 2558)
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพราะความจำเป็นต้องพึ่งตนเองมากขึ้น ทำให้ คนวัยทำงานและผู้สูงอายุเริ่มออมเงินในรูปแบบต่างๆ มากขึ้น ระดับการออมรวมของประเทศ (GDS – Gross Domestic Savings) ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2558 สถานการณ์ปรับตัวดีขึ้น สัดส่วนการออมรวม (GDS) ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) เท่ากับร้อยละ 34.18 แต่ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2558 สัดส่วนการออมรวม (GDS) ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มีการปรับตัวลดลงเป็นร้อยละ 23.48 (ที่มา : สำนักนโยบายการออมและ การลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง)
761 ผู้เข้าชม
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 2/2558 (22 ต.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาสที่ 2/2558 (22 ต.ค. 2558)
เศรษฐกิจไทยช่วงไตรมาส 2/2558 จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสที่แล้ว เป็นผลมาจากการหดตัวต่อเนื่องของการผลิตในภาคเกษตรโดยเฉพาะหมวดพืชผล ขณะที่ภาคนอกเกษตรชะลอลง เนื่องจากสาขาอุตสาหกรรมที่หดตัวประกอบกับสาขาก่อสร้างชะลอลง ส่วนภาคบริการต่าง ๆ ขยายตัวเพิ่มขึ้น
753 ผู้เข้าชม
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2558 (14 ธ.ค. 2558)
ภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2558 (14 ธ.ค. 2558)
"เศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยไตรมาส 3/2558 ขยายตัวเล็กน้อยที่ 0.18% ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2/2558 มีมูลค่าธุรกิจโดยรวม 2.04 ล้านล้านบาท สร้างรายได้และทำกำไรทั่วประเทศรวมกว่า 6.8 หมื่นล้านบาท สมาชิกมีความระมัดระวังการใช้จ่าย มีอัตราการออมเงินเฉลี่ยใกล้เคียงกับอัตราหนี้สินเฉลี่ย สำหรับแนวโน้มเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทยปี 2558 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้น”
806 ผู้เข้าชม
ผู้สอบบัญชีสหกรณ์มีบทบาทและหน้าที่ในการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตในสหกรณ์ได้อย่างไร (4 เม.ย. 2559)
ผู้สอบบัญชีสหกรณ์มีบทบาทและหน้าที่ในการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตในสหกรณ์ได้อย่างไร (4 เม.ย. 2559)
การทุจริต ประพฤติมิชอบมีโอกาสเกิดขึ้นทุกระดับในองค์กร ทั้งภาครัฐ และเอกชน ของทุก ๆ ประเทศ ยิ่งนับวันก็มีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ มีเทคนิคและวิธีการที่แยบยลในการปกปิด สร้างภาพลวงตา ดังปรากฏจากผลการสำรวจของ PwC ประเทศไทย (ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส) เผยผลสำรวจอาชญากรรมทางเศรษฐกิจในปี 2557 พบว่ามีบริษัทไทยที่ทำการสำรวจถึง 37 % ตกเป็นเหยื่อการทุจริต สำหรับประเภทของการทุจริตที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกของไทย ได้แก่ การยักยอกสินทรัพย์ (Asset misappropriation) 71 % ตามด้วย การทุจริตจัดซื้อ (Procurement fraud) 43 % ,การรับสินบนและคอรัปชั่น (Bribery and corruption) 39 % อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(Cyber crime) 18 % และการทุจริตทางบัญชี (Accounting fraud) 18 % การทุจริตในองค์กรส่วนใหญ่ เกิดขึ้นจากการกระทำผิดของพนักงานระดับผู้จัดการหรือผู้บริหารระดับกลาง มากที่สุด 56 % โดยเป็นไปในทิศทางเดียวกับภูมิภาคที่ 52 % ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการทุจริต บริษัทไทย 76 % เชื่อว่าขึ้นอยู่กับโอกาส(Opportunity) มากที่สุด ตามด้วยแรงจูงใจในการกระทำผิด (Incentive) 24 % ในขณะที่การใช้เหตุผลสนับสนุนเพื่อความชอบธรรมในการกระทำความผิดของตน (Rationalisation) ไม่มีผลต่อการกระทำความผิดตามทฤษฎีสามเหลี่ยมทุจริต (Fraud Triangle) ในแวดวงสหกรณ์ในช่วงเวลา 4 – 5 ปี ที่ผ่านมา ปัญหาการทุจริตของสหกรณ์ตกเป็นข่าวอยู่เป็นระยะ ๆ ตั้งแต่ ปัญหาการทุจริตเกี่ยวกับแชร์ล็อตเตอรี่ของสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนกระทั่งมาถึงปัญหาหนักสุดคือการทุจริตของสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด ได้สร้างความเสียหายมีมูลค่ามากกว่าหนึ่งหมื่นล้านบาท ส่งผลกระทบต่อสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก ถึงแม้ในภาพรวมสหกรณ์ที่มีการทุจริตมีจำนวนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนทั้งหมด แต่ผลกระทบในเชิงลบทำให้เกิดกระแสความไม่เชื่อมั่นต่อระบบสหกรณ์ในประเทศไทยผู้สอบบัญชีสหกรณ์มีบทบาทและหน้าที่ในการป้องกันและตรวจสอบการทุจริตในสหกรณ์ได้อย่างไร (4 เม.ย. 2559)
1030 ผู้เข้าชม
การทำประกันภัยให้กับลูกจ้างถือเป็นเงินได้พนักงานหรือไม่
การทำประกันภัยให้กับลูกจ้างถือเป็นเงินได้พนักงานหรือไม่
นายจ้างที่มีสวัสดิการทำประกันภัยให้กับลูกจ้างพนักงานนั้น มักจะมีคำถามอยู่เสมอว่า เงินค่าประกันภัยดังกล่าวถือดเป็นเงินได้ของพนักงานที่ต้องนำมาคำนวนเพื่อการเสียภาษีบุคคลธรรมดาตอนปลายปีด้วยหรือไม่นั้น เราต้องทำการพิจารณาประเด็นต่างๆดังนี้ก่อน
828 ผู้เข้าชม
«
1
...
111
112
113
114
115
116
...
228
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 0 รายการ)
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com