บัญชีโคตรง่าย

บัญชีโคตรง่าย

1110 รายการ
ในปัจจุบันคำว่า “มาตรฐานการรายงานทางการเงิน” (TFRS) เป็นคำที่เรียกกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาชีพบัญชีรวมถึงบริษัทจดทะเบียนและไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งหลายท่านคงมีคำถามในใจว่า TFRS คืออะไรมีความสำคัญอย่างไร จัดทำโดยใคร และจัดทำอย่าง ดังนั้น สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี ซึ่งมีการกำหนดพันธกิจอย่างชัดเจนในการพัฒนามาตรฐานสำหรับการประกอบวิชาชีพบัญชีสู่ระดับสากลจึงได้มีการปรับปรุงและเผยแพร่กระบวนการจัดทำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Due process) เพื่อสื่อสารให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) ทุกภาคส่วน สามารถเข้าใจและนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (“มาตรฐานฯ”) ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และช่วยให้เกิดความโปร่งใสและรับฟังความคิดเห็นอย่างทั่วถึง
7265 ผู้เข้าชม
ใบกำกับภาษีซื้อและใบกำกับภาษีขายควรแยกเข้าแฟ้ม การจัดทำใบสำคัญจ่ายและการจัดทำใบสำคัญรับ เอกสารแนบท้ายควรเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบวางบิล ใบแจ้งหนี้ อะไรก็ว่าไป แต่ไม่ควรนำต้นฉบับใบกำกับภาษีซื้อหรือสำเนาใบกำกับภาษีขายไปรวมอยู่ด้วย ต้นฉบับใบกำกับภาษีซื้อและสำเนาใบกำกับภาษีขายควรแยกเข้าแฟ้มสมุดรายวันซื้อและสมุดรายวันขาย หากจำเป็นต้องแนบท้ายใบสำคัญให้ใช้สำเนาครับ เพราะต้นฉบับต้องนำไปลงสมุดรายวันขั้นต้น ใครที่บ้าเอกสารรู้แล้วทำให้ถูกต้องนะครับ
1656 ผู้เข้าชม
เพื่อให้เข้าใจ เกี่ยวกับ การบัญชี เบื้องต้น ให้เข้าใจง่ายขึ้น เราจะมาเริ่มต้นกันที่การรู้จักสมการบัญชี ซึ่งสมการบัญชีคือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ
25003 ผู้เข้าชม
ในการทำธุรกิจ สิ่งที่สำคัญที่สุดเหนือกว่าความอยากทำทั้งปวงคือการที่ธุรกิจประสบผลกำไร หรือพูดง่ายๆ ว่าไม่ขาดทุน และได้มากกว่าที่ลงทุนไป ปัญหาคือในการเริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ๆนั้น ถ้ายังมีประสบการณ์ไม่มาก ผู้ประกอบการมักคาดการณ์ได้ลำบากว่า ธุรกิจที่ตนเองทำจะคุ้มทุนหรือไม่ และคืนทุนเมื่อไร กล่าวคือ ไม่ทราบว่าจะคิดคำนวณจุดคุ้มทุนออกมาอย่างไร และการใช้ความรู้สึกในการตอบคำถามนี้ ก็ไม่ได้ช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นสักเท่าไร ดังนั้นการทำให้ออกมาเป็นตัวเลขจะช่วยให้การตัดสินใจง่ายขึ้นเยอะ
43999 ผู้เข้าชม
มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IAS) เป็นชุดมาตรฐานเก่าที่ระบุว่าธุรกรรมประเภทใดและเหตุการณ์อื่น ๆ ควรมีการสะท้อนในงบการเงินอย่างไร
32738 ผู้เข้าชม
สำหรับบทความนี้เป็นผลมาจากการที่ได้ยิน และได้พบเจอพูดคุยกับนักบัญชีหลายท่านที่เกิดความสับสน กับแนวปฏิบัติ “มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด” ซึ่งประเด็นของมาตรฐานนี้ถือเป็นตัวช่วยที่สำคัญ และทำให้เกิดประโยชน์ต่อการนำข้อมูลในงบการเงินไปใช้ เพื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมากับปีที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ยังจะนำไปสู่การจัดทำงบการเงินที่มีความถูกต้องอีกด้วย ทั้งนี้ก่อนจะหยิบยกตัวอย่างให้ได้ศึกษากัน ลองทำความเข้าใจคำศัพท์แต่ละตัวก่อนนะครับ
1031 ผู้เข้าชม
ในปัจจุบันผู้ที่สามารถทำการตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ในฐานะผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
1213 ผู้เข้าชม
การตรวจสอบภายใน หมายถึง กิจกรรมการให้หลักประกันอย่างเที่ยงธรรมและการให้ คำปรึกษาอย่างเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้นเพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานขององค์กรให้ดีขึ้น
1722 ผู้เข้าชม
การอ่านงบกระแสเงิสดช่วยให้เข้าใจที่มาที่ไปของเงินในกิจการว่า มาจากไหนและถูกใช้ไปที่ใหนบ้าง หลายคนอ่านแล้วก็งงๆ สับสนกับชีวิต อะไรก็ไม่รู้บวกๆลบๆ เต็มไปหมด บทความนี้ก็เป็นการเล่าที่มาถึงแก่นว่างบกระแสเงินสดมีที่มาจากอะไร เพื่อให้ทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างงบกระแสเงินสดและ Discount Cash Flow ในการประเมินมูลค่ากิจการ วิธีการประเมินมูลค่าด้วยการคิดลดกระแสเงินสดหรือ Discount Cash Flow เป็นวิธีที่ดูดีในเชิงทฤษฎี แต่ยากในเชิงปฎิบัติ เพราะตัวแปรเยอะมึนไปหมด
9347 ผู้เข้าชม
งานตรวจสอบภายในภาคราชการ เริ่มมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 โดยระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ. 2505 ได้กำหนดให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งข้าราชการในหน่วยงาน
804 ผู้เข้าชม
187325 ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์