TH
TH
EN
062-310-5613
Menu
Home
Product
Sales Order
Purchase Order
Inventory Control
Accounts Receivable
Accounts Payable
General Ledger
Petty Cash
Cheque Receivable
Cheque Payment
Bank Adjustment
VAT & Withholding Tax
Sales Force Automation
Approve Center
Financial Management
Sale Analysis
Purchase Analysis
Audit and Internal Control
Security Administrator
Mobile Apps
API Lazada & Shopee
Work Flow
Pricing
ราคาแพ็กเกจ
เงื่อนไขการให้บริการ
วิธีการชำระเงิน
Service
จองอบรมโปรแกรม
วีดีโอสอนการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
คำถามที่พบบ่อย FAQs
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
การวางระบบบัญชี และการเริ่มต้นใช้งาน
รายละเอียดการ Update Version
นโยบายการรักษาข้อมูล
Customers
Site Reference
Partners สถาบันการศึกษา
More
โครงการเพื่อสังคม
ฟังก์ชันสำหรับสำนักงานบัญชี
เหตุผลที่เลือกใช้ myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย myAccount Cloud
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
News
Blog
Partners
Partners สำนักงานบัญชี
สถาบันการศึกษา
About Us
Our Story
Social Enterprise
Office Location
Our Business
Prosoft Group
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
บัญชีโคตรง่าย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
หมวดหมู่ทั้งหมด
BLOG myAccount Cloud
บัญชีโคตรง่าย
การตลาด
บริหารธุรกิจ
ซอฟท์แวร์
ซอฟท์แวร์บัญชี
ซอฟท์แวร์ CRM
ค้นหา
บัญชีโคตรง่าย
1110 รายการ
ผู้มีสิทธิทำบัญชี
ผู้มีสิทธิทำบัญชี
บัญชีไม่ใช่ใครก็ทำได้ . ผู้ที่มีสิทธิทำบัญชีและยื่นงบการเงินต่อกรมพัฒฯ ตาม พรบ.การบัญชี ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
1472 ผู้เข้าชม
ผู้ทำบัญชี V.S. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
ผู้ทำบัญชี V.S. ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
. ท่านทราบหรือไม่ว่าผู้ทำบัญชี และผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี นั้นแตกต่างกันอย่างไร ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี คือผู้ที่ต้องทำให้กิจการมีการจัดทำบัญชี โดยปกติแล้วจะเป็นหน้าที่ของเจ้าของกิจการหรือผู้มีอำนาจสูงสุดของกิจการ ส่วนผู้ทำบัญชีจะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติควมถ้วนตามที่ พ.ร.บ.การบัญชี 2543 และ 2547 กำหนดไว้เท่านั้น
41306 ผู้เข้าชม
Asset Allocations
Asset Allocations
การกระจายการลงทุน หรือการจัดสรรเงินลงทุน (Asset Allocations) เป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการลงทุนของนักลงทุนทุกๆ คน รูปแบบการกระจายการลงทุนของนักลงทุนแต่ละคนมักจะมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ส่วนบุคคล วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของการลงทุน และข้อจำกัดอื่นๆ เป็นต้น โดยการกระจายการลงทุนที่ดี สิ่งที่นักลงทุนควรคำนึงถึง 2 สิ่งก็คือ การกระจายการลงทุนสามารถให้ผลตอบแทนตามที่คาดหวังแก่นักลงทุนได้ และความเสี่ยงอยู่ในเกณฑ์ที่นักลงทุนสามารถยอมรับได้เช่นเดียวกัน
698 ผู้เข้าชม
การวางแผนการเงินส่วนบุคคล
การวางแผนการเงินส่วนบุคคล
การวางแผนทางการเงิน มีความจำเป็นอย่างมากเพราะจะเป็นเครื่องมือทำให้เราเตรียมความพร้อมที่นำชีวิตให้บรรลุความมั่นคงทางการเงินได้ การวางแผนการเงินนั้นควรเริ่มจาก คุณพ่อ-คุรแม่ ต้องปลูกฝังลูกๆให้นิสัยการออมและการใช้เงินอย่างสมเหตุสมผลตั้งแต่วัยเด็กเพื่อบ่มเพาะวินัยทางการเงินไว้ก่อน เมื่อลูกหลานเข้าสู่วัยทำงานก็จำเป็นต้องรู้วิธีการวางแผนการจัดสรรรายได้ให้เพียงพอกับการออมเงินตามเป้าหมายและรายจ่ายต่างๆอย่างเหมาะสม เมื่อมีครอบครัวก็จำเป็นต้องดูแลทั้งตนเองและคนในครอบครัว ทำให้ความรับผิดชอบและภาระทางการเงินยิ่งเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้การวางแผนทางการเงินมีความสำคัญมากขึ้น แม้กระทั่งเมื่อเกษียณอายุ ก็ยังต้องวางแผนทางการเงิน เพราะเป็นวัยที่มีรายได้ลดลง แต่ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ยังคงอยู่ และมีเพิ่มสูงขึ้นในบางหมวด เช่น ค่ารักษาพยาบาล ซึ่งหากไม่มีการวางแผนที่ดีก็อาจเกิดปัญหาและสร้างภาระให้ลูกหลานได้
3643 ผู้เข้าชม
8 วิธีวางแผนการเงิน ปิดจุดอ่อนธุรกิจ
8 วิธีวางแผนการเงิน ปิดจุดอ่อนธุรกิจ
Highlight: หนึ่งในหัวใจความสำเร็จของธุรกิจ คือการวางแผนการเงินที่มีประสิทธิภาพ และนี่คือแนวทางที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถวางแผนการเงินได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ประเมินรายรับ-จ่ายที่เกิดขึ้น ตรวจสอบแผนการเงินทุกเดือน รีบปรับตัวทันทีถ้ารายรับได้ต่ำกว่าที่คาด และที่สำคัญคือ ต้องคิดก่อนใช้เสมอ การวางแผนทางการเงินที่ดี กลายเป็นจุดอ่อนที่ผู้ประกอบการ SME หลายๆ คนมักมองข้าม ที่ผ่านมามีผู้ประกอบการไม่น้อยที่ไม่เคยเก็บหลักฐานอย่างจริงจังว่า ธุรกิจทำเงินได้เท่าไหร่ หรือยังไม่รู้เลยว่าธุรกิจที่ทำไปนั้นประสบความสำเร็จหรือไม่ รวมถึงไม่รู้ตัวเลขผลกำไรที่แน่ชัด ฉะนั้นการที่จะประสบความสำเร็จในธุรกิจ คุณจะต้องทำแผนการเงินและตรวจสอบถึงปัญหาข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกเดือน เพื่อที่จะหาทางแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นให้เร็วที่สุด และ 8 ขั้นตอนต่อไปนี้จะช่วยคุณวางแผนการเงินเบื้องต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
907 ผู้เข้าชม
ธุรกิจไม่เจอทางตัน เมื่อรู้ทันต้นทุนทางการเงิน
ธุรกิจไม่เจอทางตัน เมื่อรู้ทันต้นทุนทางการเงิน
Highlight: งินทุนคือสิ่งจำเป็นสำหรับธุรกิจ แต่ถ้าเมื่อเงินทุนที่มีไม่เพียงพอกับการดำเนินงาน ก็ต้องพึงพาแหล่งทุนภายนอก อย่าง สถาบันการเงิน ดังนั้นไม่ว่าจะค่าธรรมเนียม หรือดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดจากการกู้ยืม เพื่อนำเงินกู้มาใช้ในการดำเนินงานล้วนเป็น “ต้นทุนทางการเงิน” ที่ผู้ประกอบการต้องรู้และวางแผนบริหารจัดการให้ดี ในการดำเนินธุรกิจของคุณ “เงินทุน” เป็นสิ่งจำเป็นแรกๆ ที่ต้องมีไว้ใช้ในการลงทุนเริ่มแรก หรือหมุนเวียนในกิจการเมื่อเริ่มเปิดดำเนินงาน แต่หาก “เงินทุน” ที่คุณมีไม่เพียงพอ อาจจำเป็นต้องพึ่งพาสถาบันการเงิน ซึ่งเป็นแหล่งในการจัดหาเงินทุนภายนอกที่สำคัญได้ และนั่นคงไม่พ้นเรื่องของค่าใช้จ่ายและภาระดอกเบี้ยที่อาจตามมาได้ในที่สุดเมื่อมีการกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนภายนอกหรือสถาบันการเงินเหล่านี้
893 ผู้เข้าชม
Benchmark..นั้นสำคัญไฉน
Benchmark..นั้นสำคัญไฉน
เชื่อว่าผู้ลงทุนหลาย ๆ ท่านที่พอคุ้นเคยกับการลงทุนในกองทุนรวม คงจะเคยเห็นคำว่า “ Benchmark “ หรือที่เรียกว่า “เกณฑ์มาตรฐาน” อยู่บ่อยครั้งเมื่อมีการพูดถึงผลการดำเนินงานของกองทุนรวม อีกทั้ง Benchmark ที่แสดงไว้นั้นก็มีอยู่หลายตัวทีเดียว แต่คุณ ๆ เคยสงสัยบ้างหรือไม่ว่าจริง ๆ แล้ว Benchmark ที่พูดถึงอยู่นี้คืออะไร แล้วทำไมถึงต้องใช้ Benchmark เหล่านี้ด้วย และที่สำคัญ Benchmark เหล่านี้บอกอะไรกับเราบ้างในฐานะผู้ลงทุน
7566 ผู้เข้าชม
ภัยเงียบการเงิน สัญญาณเตือนก่อนธุรกิจพัง!
ภัยเงียบการเงิน สัญญาณเตือนก่อนธุรกิจพัง!
Highlight: หลายๆ สัญญาณเตือนเกี่ยวกับการเงิน เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการห้ามมองข้ามโดยเด็ดขาด ถ้าวันนี้ผู้ประกอบการเริ่มเห็นถึง การเร่งทำกำไรมากเกินไป หรือกำไรขั้นต้นลดต่ำ ยอดขายนิ่งหรือลดลง แม้แต่การเติบโตของธุรกิจลดลง และที่น่ากลัวที่สุดๆ คงเป็นธุรกิจได้กำไร แต่กระแสเงินสดติดลบ คงต้องรีบหาทางป้องกันและแก้ไขตั้งแต่เนินๆ ก่อนธุรกิจพังโดยไม่รู้ตัว หลายครั้งที่ผู้ประกอบการอาจสนุกกับงานขายหน้าบ้าน จนลืมมองตัวเลขหลังบ้าน พอมารู้ตัวอีกทีก็ต้องเครียดกันยกใหญ่ เพราะภัยเงียบทางการเงินเริ่มก่อตัวขึ้นเมื่อไหร่ไม่รู้ได้ ฉะนั้นถ้าผู้ประกอบการไม่อยากต้องเผชิญกับปัญหาทางการเงิน อาจต้องคอยฟังสัญญาณเตือน เพื่อหาทางป้องกันและแก้ไขให้ทันเวลา มาดูสิว่า มีสัญญาณอะไรบ้างที่บ่งบอกว่าธุรกิจกำลังเกิดปัญหาทางการเงิน
1180 ผู้เข้าชม
บริหารเงินอย่างไร เมื่อได้ เงินก้อนโต
บริหารเงินอย่างไร เมื่อได้ เงินก้อนโต
หากพูดถึง “เงินก้อนโต” ย่อมเป็นสิ่งที่ใคร ๆ ล้วนปรารถนา ไม่ว่าจะได้เงินนั้นมาจาก อาทิเช่น มรดก เงินรางวัล โบนัส เงินบำเหน็จ เงินเกษียณ กำไรจากการทำธุรกิจ เป็นต้น เราจะมาพูดถึงหลักการบริหารเงินอย่างไร ให้เงินก้อนโตนั้นมีประสิทธิภาพ สามารถเติบโตงอกเงย และอยู่กับเราไปนาน ๆ กันค่ะ โดยหลักในการบริหารเงินก้อนนี้ เราจะแบ่งเป็นหัวข้อในการพิจารณาและความสำคัญในแต่ละข้อ ดังต่อไปนี้นะคะ
902 ผู้เข้าชม
5 เรื่องต้องรู้ทางการเงิน ที่ทำให้ผู้ประกอบการไปต่อได้หรือไม่
5 เรื่องต้องรู้ทางการเงิน ที่ทำให้ผู้ประกอบการไปต่อได้หรือไม่
Highlight: ถ้า SME อยากบริหารจัดการทางการเงินเพื่อให้ธุรกิจไปต่อได้ง่ายๆ ต้องไม่ลืมทำเรื่องเหล่านี้ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้เก็บสถิติเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการเงินของผู้ประกอบการขนาดเล็ก จำนวน 1,700 ราย เอาไว้อย่างน่าสนใจ ซึ่งมีผู้ประกอบการเพียง 1 ใน 4 เท่านั้น ที่มีวินัยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเงินอย่างครบถ้วน โดยพฤติกรรมทางการเงินทั้ง 5 ข้อนี้นับเป็นรากฐานอันสำคัญที่จะทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จได้อย่างยั่งยืน นอกจากนั้นยังช่วยให้ธุรกิจขนาดเล็กมีมุมมองด้านการเงินที่กว้างขึ้น สามารถเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ในอนาคตได้ในระดับหนึ่ง รวมถึงมีกำไรเพียงพอที่จะดำเนินธุรกิจในปีถัดๆ ไป ซึ่งพฤติกรรมทางการเงินที่จะทำให้ผู้ประกอบการประสบความสำเร็จได้ มีดังนี้
768 ผู้เข้าชม
192961 ผู้เข้าชม
«
1
...
23
24
25
26
27
28
...
111
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
หมวดหมู่
1145
ทั้งหมด
บัญชีโคตรง่าย
1110
การตลาด
11
บริหารธุรกิจ
12
ซอฟท์แวร์
12
ซอฟท์แวร์บัญชี
11
ซอฟท์แวร์ CRM
1
Get started for free today.
ทดลองใช้งานฟรี
×
โทร
062-310-5613
×
Line
×
ฟอร์มการติดต่อ
ชื่อผู้ติดต่อ :
บริษัท :
เบอร์โทรศัพท์ :
อีเมล :
ประเภทการติดต่อ :
สอบถาม
สนใจสินค้าและบริการ
ข้อเสนอแนะโปรแกรม
ร้องเรียนบริการ
ดาวน์โหลดโปรแกรม
ทดลองใช้งานออนไลน์ (Online Demo)
อื่นๆ
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม เชียงใหม่
จองดูสาธิตการใช้โปรแกรม กรุงเทพฯ
จองอบรมโปรแกรมก่อนซื้อ
จองอบรมออนไลน์
ร่วมเป็น Partners กับ myAccount
ร่วมเป็น Education กับ myAccount
จองอบรม Online
ลงทะเบียนทดลองใช้งานฟรี
เรื่อง :
รายละเอียด :
รอบอบรมออนไลน์ :
- เลือกรอบอบรมออนไลน์ -
17-18 ธันวาคม 2567 (เวลา 09:00 - 16:00)
22-23 มกราคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 กุมภาพันธ์ 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 มีนาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 เมษายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 พฤษภาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
18-19 มิถุนายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
23-24 กรกฎาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
20-21 สิงหาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 กันยายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
21-22 ตุลาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
19-20 พฤศจิกายน 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
17-18 ธันวาคม 2568 (เวลา 09:00 - 16:00)
ส่งข้อความ
ยกเลิก
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com